Page 131 - thaipaat_Stou_2563
P. 131
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
ุ
หอการค้าจังหวัด สภาอตสาหกรรมจังหวัด ส านักงานแรงงานจังหวัด และส านักงานสวัสดิการและคุ้มครอง
ื่
แรงงานจังหวัด เพอให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และเกิดการบูรณาการจัดการกิจกรรมส่งเสริมความ
รับผิดชอบต่อสังคมร่วมกัน ประกอบด้วย หน่วยงานภาครัฐ ภาคธุรกิจ ภาคประชาสังคม สื่อมวลชน และภาค
ส่วนที่เกี่ยวข้อง เกิดการแต่งตั้งคณะท างานโดยมีภาคเอกชนเป็นผู้น าการขับเคลื่อนโครงการผ่านกิจกรรมต่างๆ
ั
ทั้งนี้ได้รับการจัดสรรงบประมาณจากกองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม และมีการประชาสัมพนธ์โครงการ
ื่
เพอสร้างความรับรู้ และเกิดการตื่นตัวในการช่วยเหลือสังคม เกิดการสร้างคุณประโยชน์ให้แก่สังคม และการ
สร้างคุณค่าทางจิตใจของตนเอง
ต่อมากระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ก าหนดนโยบายประจ าปี พ.ศ.2561 ตาม
ื่
นโยบายเร่งด่วน (Agenda Based) ข้อ 5.1.9 การส่งเสริมพลังประชารัฐเพอสังคม โดยก าหนดให้จังหวัดน่าน
ต้องจัดตั้งศูนย์ส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจ (CSR) ตามข้อ 3 ขับเคลื่อนแนวทางส่งเสริม
ความรับผิดชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจระดับจังหวัดและจัดตั้งศูนย์ CSR ระดับจังหวัดเพมขึ้น จังหวัดน่านจึง
ิ่
อนุมัติโครงการส่งต่อความรัก ด้วยส านึกความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR) และจัดตั้งศูนย์ส่งเสริมความ
รับผิดชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจจังหวัดน่าน เมื่อวันที่ 12 กันยายน พ.ศ.2561 เพอเป็นศูนย์ประสานงาน
ื่
รวบรวมข้อมูลขององค์กรภาคธุรกิจที่มีการด าเนินกิจกรรม CSR และส ารวจสภาพปัญหาในพื้นที่ เพื่อให้องค์กร
ที่ประสงค์ด าเนินกิจกรม CSR ให้สามารถด าเนินกิจกรรมได้อย่างเหมาะสม ตลอดจนสร้างการบูรณาการ
ร่วมกันระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคมให้เป็นรูปธรรม ก าหนดขอบเขตของศูนย์ส่งเสริม
ความรับผิดชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจจังหวัดน่านให้รวมถึงวิสาหกิจเพอสังคมและรัฐวิสาหกิจ มีโครงสร้าง
ื่
คณะท างาน โครงสร้างองค์กรตามมติคณะอนุกรรมการบริหารกองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมจังหวัด
น่านแต่งตั้งคณะท างานขับเคลื่อนการส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจจังหวัดน่าน เพอก่อตั้ง
ื่
ศูนย์ส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมของจังหวัด และแต่งตั้งคณะกรรมการศูนย์ เพอให้เกิดการบูรณาการ
ื่
ร่วมกันระหว่างภาครัฐ ภาคธุรกิจ และภาคประชาชน ด้วยกลไกของคณะกรรมการบริหารศูนย์ฯ อน
ั
ประกอบด้วยผู้แทนจากองค์กรภาคธุรกิจทั้งสิ้น ทั้งนี้ได้รับการจัดสรรงบประมาณจากกองทุนส่งเสริมการจัด
สวัสดิการสังคม และมีการประชาสัมพันธ์โครงการผ่านสื่อ
สรุปผลกำรศึกษำ
จากการศึกษาภูมิหลังของร่วมมือระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคมในการบริหารงานเพื่อ
ขับเคลื่อนการบริหารจัดการเครือข่ายโครงการศูนย์ส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจ พบว่า
โครงการศูนย์ส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจ เป็นการบูรณาการร่วมกันของภาครัฐ ภาคเอกชน
และภาคประชาสังคมในจังหวัดราชบุรี และจังหวัดน่าน เพอแก้ไขปัญหาสังคมในจังหวัด โดยมีภาครัฐเป็น
ื่
ผู้สนับสนุน ผลักดันโครงการ เป็นผู้ประสานงานในการท า Macthing ระหว่างผู้เดือดร้อนกับผู้ที่ต้องการใช้
ความช่วยเหลือ เนื่องจากส านักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พมจ.) มีการรวบรวมข้อมูลของผู้ที่
ื่
ื้
ขาดแคลน หรือผู้ที่ต้องการความช่วยเหลืออยู่แล้ว รวมถึงข้อมูลขององค์กรธุรกิจในพนที่ เพอเป็นฐานข้อมูล
ื้
เดียวกันในการประสานงาน ในส่วนของภาคเอกชนเป็นผู้ที่ท าธุรกิจในพนที่นั้นๆจะเป็นผู้ขับเคลื่อนโครงการ มี
การจัดตั้งคณะท างาน การประชุมร่วมกันถึงการส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจว่า เมื่อภาครัฐ
ประสานงานเกี่ยวกับผู้ที่ต้องการความช่วยเหลือ หรือการท า CSR บริษัทหรือองค์กรใดมีความประสงค์จะเป็น
ผู้ลงมือท ากิจกรรม ทั้งนี้ การท า CSR จะอยู่ภายใต้ภารกิจ และวิสัยทัศน์ที่เหมาะสมกับองค์กรของตนเอง และ
ในส่วนของภาคประชาชน จะเป็นผู้ชี้เป้ากลุ่มเป้าหมาย เช่น ผู้พิการ คนเดือดร้อน เป็นต้น ที่ต้องการให้ภาครัฐ
เข้ามาช่วยเหลือ ในบริบทของโครงการศูนย์ส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจ จึงเป็นการ
129