Page 130 - thaipaat_Stou_2563
P. 130
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
ร่วมมือกับภาคเอกชนที่มีความเข้มแข็ง และภาคสังคมอย่างหลากหลายและต่อเนื่อง
ภูมิหลังโครงกำรศูนย์ส่งเสริมควำมรับผิดชอบต่อสังคมของภำคธุรกิจ
สืบเนื่องจากการที่ประเทศไทยได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) และตาม
แผนงานการจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ค.ศ. 2009 – 2015) ที่มีวัตถุประสงค์ต้องการให้
ประเทศสมาชิกอาเซียน มีการผลักดันให้ภาคธุรกิจผนวกเรื่องการส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมของภาค
ธุรกิจ (Corporate Social Responsibility : CSR) ไว้ในวาระการด าเนินงานขององค์กรธุรกิจ เพอจะได้
ื่
ส่งเสริมให้เกิดการพฒนาเชิงเศรษฐกิจ และสังคมที่ยั่งยืนในหมู่ประเทศสมาชิกอาเซียน ตามแผนงานการจัดตั้ง
ั
ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนในด้านสิทธิและความยุติธรรมทางสังคม (Social Justice and Rights)
ภายหลังจากแผนงานดังกล่าวประเทศไทยได้ด าเนินมาตรการภายใต้แผนงานการจัดตั้งประชาคมสังคมและ
วัฒนธรรมอาเซียนของหน่วยงานราชการที่ดูแลด้านสังคมและวัฒนธรรม โดยมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 12
ั
ตุลาคม พ.ศ.2553 มอบหมายให้กระทรวงการพฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ในฐานะหน่วยงาน
ปฏิบัติในการผลักดันมาตรการส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจ ภายใต้กรอบความร่วมมือด้าน
ั
สวัสดิการสังคมและพฒนาอาเซียน และคณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบยุทธศาสตร์การส่งเสริมความรับผิดชอบต่อ
สังคมของภาคธุรกิจ ฉบับที่ 1 (พ.ศ.2558-2560) เมื่อวันที่ 28 เมษายน พ.ศ.2558 เพอเป็นการส่งเสริม
ื่
ความรับผิดชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจเพอการพฒนาสังคมอย่างยั่งยืน ประกอบกับการที่ประเทศไทยได้ร่วม
ื่
ั
ั
รับรองเอกสารวาระใหม่แห่งการพฒนาเมือง (New Urban Agenda: NUA) ซึ่งอยู่ภายใต้ “เป้าหมายการ
พฒนาที่ยั่งยืน” (Sustainable Development Goals: SDGs) ขององค์กรสหประชาชาติ โดยการปฏิบัติด้าน
ั
ความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรต่างๆนั้นต้องค านึงถึงการมีความรับผิดชอบต่อมิติด้านเศรษฐกิจ สังคม
ื่
และสิ่งแวดล้อม ซึ่งมุ่งเน้นให้ภาครัฐบูรณาการความร่วมมือกับทุกภาคส่วน เพอเร่งพฒนาและยกระดับ
ั
รากฐานสังคม ทั้งนี้ยุทธศาสตร์ดังกล่าวมีการด าเนินงานเป็นระดับจังหวัด มอบหมายให้ส านักงานพัฒนาสังคม
และความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด (พมจ.) เป็นผู้น ายุทธศาสตร์ไปปฏิบัติ เพื่อให้แต่ละจังหวัดมีการช่วยเหลือซึ่ง
กันและกัน เนื่องจากแต่ละจังหวัดประสบปัญหาที่แตกต่างกัน
กลไกกำรขับเคลื่อนโครงกำรศูนย์ส่งเสริมควำมรับผิดชอบต่อสังคมของภำคธุรกิจสู่กำรปฏิบัติระดับจังหวัด
ปี พ.ศ.2559 จังหวัดราชบุรี ได้ด าเนินการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการส่งเสริมภาครัฐ ภาคธุรกิจจัดท า
โครงส่งเสริมภาครัฐ ภาคธุรกิจ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม จังหวัดราชบุรี ด้านการมีส่วนร่วมรับผิดชอบ
ต่อสังคมตามยุทธศาสตร์การส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจเพื่อสังคม มีการจัดตั้งศูนย์ส่งเสริม
ความรับผิดชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจจังหวัดราชบุรี เมื่อวันที่ 9 สิงหาคม พ.ศ.2559 มีการบริการจัดการ
โดยภาคธุรกิจ และมีภาครัฐเป็นผู้สนับสนุน โดยมีสถานะเป็นหน่วยงานของภาครัฐ มีโครงสร้างองค์กรโดย
อาศัยอานาจตามความในมาตรา 18 แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม พ.ศ.2546 ซึ่งแก้ไข
เพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2550 จัดตั้งคณะกรรมการบริหาร
ศูนย์ส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจจังหวัดราชบุรีตามค าสั่งจังหวัดราชบุรี เพอเป็นกลไกใน
ื่
การด าเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจในจังหวัดให้เกิดประสิทธิภาพ มีการลงนามบันทึก
ข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ระหว่างศูนย์ส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR) จังหวัดราชบุรี กับสถาน
ประกอบการ หน่วยงาน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีกลไกการบริหารงานของโครงการเริ่มต้นจากการที่
ภาครัฐส ารวจข้อมูลองค์กรภาคธุรกิจที่ด าเนินการเกี่ยวกับการส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมของจังหวัด
และคัดเลือกกลุ่มเป้าหมายซึ่งเป็นองค์กรภาคเอกชน โดยการสอบถามข้อมูลจากส านักงานธุรกิจการค้าจังหวัด
128