Page 142 - thaipaat_Stou_2563
P. 142

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓



                                                                                                     ั
               บริการดังกล่าวได้ และแม้ว่าชาวบ้านและ อบต. หนองตาแต้มจะเยียวยาตนเองเบื้องต้นด้วยการพฒนา
               โครงการพลังงานทางเลือกในชุมชนก็ตาม แต่จากความยากล าบากกว่า 60 ปีของชาวบ้านที่ไม่สามารถใช้
                                                                      ื่
               ไฟฟ้าได้นั้นท าให้เกิดค าถามว่า อะไรคือหน้าที่ของรัฐที่พึงกระท าเพอรับประกันสิทธิของประชาชน

               กำรเข้ำถึงไฟฟ้ำในฐำนะ “สิทธิ”


                                   ้
                       การเข้าถึงไฟฟา (access to electricity) หมายถึง การที่สามารถใช้ประโยชน์จากกิจกรรมต่างที่
                                            ้
               เกิดขึ้นจากการเข้าถึงพลังงานไฟฟาไม่ใช่การเข้าถึงไฟฟาโดยตัวมันเอง (Tully, 2006) เป็นที่ยอมรับโดยทั่ว
                                                              ้
                                                             ั
               กันว่าการเข้าถึงไฟฟามีความส าคัญอย่างมากต่อการพฒนาคุณภาพชีวิตของผู้คน ในบริบทของความเป็นอยู่
                                 ้
                                        ้
               แบบสมัยใหม่ การเข้าถึงไฟฟาจึงเป็น “สิ่งจ าเป็น” ไม่ใช่ “สิ่งฟมเฟอย” จึงมีความพยายามขยายการเข้าถึง
                                                                        ื
                                                                     ุ่
               ไฟฟ้าให้ครอบคลุมและเป็นสากลตามที่ระบุในเป้าหมายของการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development
               Goal: SDGs) ขององค์กรสหประชาชาติ (United Nations Thailand, 2015) อย่างไรก็ตามมีการถกเถียง

                                    ้
               ต่อไปว่า การเข้าถึงไฟฟาควรถูกนับว่าเป็น “สิทธิ” หรือไม่ และหากนับว่าเป็นสิทธิควรเป็นสิทธิแบบใด
               (Löfquist, 2019, p. 1) และไปไกลได้ถึงสิทธิมนุษยชนหรือไม่ (Tully, 2006, p. 1)


                                                            ้
                       จากประโยชน์ที่กว้างขวางจากการเข้าถึงไฟฟา ท าให้เป็นการยากที่จะจินตนาการถึงการมีชีวิตอยู่ใน
                                                                             ้
                                             ้
               สังคมสมัยใหม่โดยปราศจากไฟฟา แม้จะมีผู้วิจารณ์ว่าการเข้าถึงไฟฟาอาจไม่ได้มีส่งผลต่อการอยู่รอด
                                                                     ั
               เช่นเดียวกับการได้มาซึ่งอาหารและน้ า แต่ส านักงานโครงการพฒนาแห่งสหประชาชาติ (United Nations
               Development Programme: UNDP) ได้จัดความส าคัญของการเข้าถึงพลังงานเทียบเคียงกับน้ าและอาหาร


                       มนุษย์ย่อมมีชีวิตอยู่ได้โดยไม่มีเครื่องปรับอากาศ และโทรทัศน์ แต่ก็ปฏิเสธไม่ได้ว่าการเข้าถึงไฟฟา
                                                                                                        ้
                                                               ั
               เป็นปัจจัยส าคัญที่จะส่งเสริมศักยภาพและโอกาสในการพฒนาคุณภาพชีวิต แนวคิด “สมรรถภาพของมนุษย์”
               (Capabilities Approach) ของ Amartaya Sen และ Martha Nussbaum คือการตระหนักถึงเสรีภาพของ

               ผู้คนในการเลือกว่าจะเป็นและท าอะไร เสรีภาพที่จะใช้ศักยภาพของผู้คนนี้เองจะเกิดขึ้นได้นั้นมนุษย์ทุกคนควร
               มีโอกาสที่จะมีชีวิตที่ดี รัฐจึงควรท างานเพอเพมทางเลือกในการด ารงชีวิตและปรับปรังคุณภาพชีวิตของผู้คน
                                                      ิ่
                                                  ื่
               (ความเหลื่อมล้ าฉบับพกพา, 2017)

                                                                                   ี
                       ฉะนั้น เมื่อเราพดถึงความยากจน ความยากจนจึงไม่สามารถวัดจากเพยงฐานะทางเศรษฐกิจและ
                                    ู
               ความมั่งคั่ง แต่ความยากจนในแนวคิดเรื่องสมรรถภาพของมนุษย์หมายถึงการลิดรอนเสรีภาพที่จะใช้สมรรภาพ

               ของผู้คน (ความเหลื่อมล้ าฉบับพกพา, 2017) “ความยากจนทางพลังงาน” (energy poverty) จากการถูก
               ปฏิเสธในการเข้าถึงไฟฟาของชาวบ้านในหนองตาแต้ม นอกจากจะเป็นปัจจัยที่ท าให้พวกเขายากจนใน
                                     ้
               ความหมายทางเศรษฐกิจแล้ว ยังนับว่าเป็นความยากจนทางโอกาสในความหมายที่พวกเขาถูกลิดรอน

               สมรรถภาพของมนุษย์และสิทธิในการพฒนา (right to development) เพราะการเข้าไม่ถึงไฟฟาส่งผลอย่าง
                                                ั
                                                                                               ้
                                                                                      ้
               มากต่อผู้คนที่เปราะบางในสังคม เช่น ผู้หญิงที่มักมีปัญหาด้านสุขภาพจากการไม่มไฟฟาใช้ และเด็กเพราะการ
                                                                                   ี
               ไม่มีไฟฟ้าใช้ย่อมกระทบต่อโอกาสทางการศกษา (Tully, 2006)
                                                   ึ

                                                                                                     140
   137   138   139   140   141   142   143   144   145   146   147