Page 139 - thaipaat_Stou_2563
P. 139
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
ี
...อกทั้งผู้ถูกฟ้องที่ 2 ไมมหน้ำที่โดยตรงในกำรจัดให้มบริกำร
ี
ี
่
สำธำรณะแก่ผู้ที่เข้ำมำอยู่อำศัยในที่ดินซึ่งอยู่ในควำมครอบครอง
ของตนโดยไม่ได้รับอนุญำต… (น. 28-31)
(ตัวหนาโดยผู้เขียน)
แคมเปญ “ไฟ-จำก-ฟ้ำ” กับกำรถูกท ำให้ไม่เป็นปัญหำ
ื้
ิ
ผลจากค าพพากษาของศาลปกครองสูงสุด ใน พ.ศ. 2556 นี้ ชาวบ้านในพนที่กว่า 400 ครัวเรือน
ต้องตกอยู่ใน “สภาวะจ ายอม” ต่อการถูกปฏิเสธการเข้าถึงพลังงานไฟฟา วิถีความเป็นอยู่ของชุมชนต้องเผชิญ
้
กับข้อจ ากัดที่เกิดจากการเข้าไม่ถึงพลังงานไฟฟ้า (NongtatamSAO, 2019) ความมืดได้กลายมาเป็นอุปสรรค
ในการยกระดับสถานะทางเศรษฐกิจ ความปลอดภัย และโอกาสทางการศึกษาของลูกหลานคนในชุมชน ในปี
ื้
ื่
พ.ศ. 2557 องค์การบริหารส่วนต าบลหนองตาแต้มในและชาวบ้านในพนที่จึงท างานร่วมกันเพอผลักดัน
นวัตกรรมชุมชนไฟฟาพลังงานแสงอาทิตย์แบบพงพาตนเอง โดยสร้างเครือข่ายความร่วมมือจากทั้งภาครัฐ คือ
ึ่
้
้
การไฟฟาส่วนภูมิภาค และหน่วยงานเอกชนในการให้ความรู้และเซลล์พลังงาน รวมไปถึงมีการตั้งกองทุน
ื่
พลังงานทดแทนพงตนเองเพอเปิดโอกาสในการเข้าถึงพลังงานให้แก่คนที่ยากจนในชุมชน ต่อมาโครงการ
ึ่
ดังกล่าวได้รับได้รับรางวัลชนะเลิศจากองค์การสหประชาชาติด้านการให้บริการสาธารณะ (United Nations
ี
Public Service Awards : UNPSA) ใน พ.ศ. 2562 (ไทยพบีเอส, 2562) เนื่องจากนวัตกรรมดังกล่าว
ั
สอดคล้องกับเป้าหมายการพฒนาที่ยั่งยืน ข้อที่ 7 ที่มุ่งเน้นการมีพลังงานสะอาดที่ทุกคนเข้าถึงได้ เชื่อถือได้
ยั่งยืน (United Nations Thailand, 2015)
จากความส าเร็จข้างต้นนี้ พื้นที่ชุมชนหนองตาแต้มกับนวัตกรรมพลังงานแสงอาทิตย์ได้กลายมาเป็น
้
“เรื่องเล่าหลัก” ของโครงการ “ไฟ จาก ฟา” โดยคณะกรรมการก ากับกิจการพลังงาน (กพพ.) ร่วมมือกับ
บริษัทด้านความบันเทิงขนาดใหญ่เพื่อสร้างการรับรู้เกี่ยวกับพลังงานสะอาด (ชนากานต์ ปานอ่ า, 2562) มีการ
ผลิตรายการเพลงเชิงสารคดีท่องเที่ยวที่มีเบิร์ด ธงไชย นักร้องชื่อดังเป็นผู้ด าเนินเรื่อง ประสบการณ์ของหนอง
ตาแต้มถูกฉายภาพให้เต็มไปด้วยความน่ายินดีและความโรแมนติก อย่างไรก็ตามแคมเปญที่ฉายภาพความโร
แมนติกนี้ได้ท าให้สิ่งที่เป็นปัญหาการเข้าไม่ถึงสาธารณูปโภคนี้ “ถูกท าให้ไม่กลายเป็นปัญหา”ผ่านกระบวนการ
ท าให้โรแมนติกผ่านน าเสนอภาพของการพึ่งพาตนเองด้วยพลังงานทดแทน
้
มากไปกว่านั้นอาจกล่าวได้ว่าท้ายที่สุดแล้วสิ่งที่ “ไฟ จาก ฟา” สะท้อนอาจเป็น “ความไม่เสมอภาค
ทางสังคม” ทางนโยบายที่ซึ่งประชาชนกลายมาเป็นผู้แบกภาระด้วยตนเอง หรือคนเหล่านี้ “ถูกผลัก” ให้ต้อง
“พึ่งพาตนเอง” ผ่านพลังงานทางเลือก อีกทั้งการพึ่งพาพลังงานแสงอาทิตย์ในพื้นที่หนองตาแต้มแยังมีข้อจ ากัด
หลายประการ คือ มีความเข้มข้นของพลังงานต่ า และไม่มีความเสถียรเพราะขึ้นอยู่กับสภาพอากาศ (ส านัก
ึ่
พฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ, มปป.) ฉะนั้น อาจกล่าวได้ว่าการพงพาพลังงานดังกล่าวจึงไม่อาจ
ั
สามารถเติมเต็มต่อมาตราฐานการด ารงชีวิตสมัยใหม่ได้อย่างเพียงพอและเสมอภาค
137