Page 140 - thaipaat_Stou_2563
P. 140
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
ว่ำด้วยควำมเป็นธรรมทำงสังคม
ื้
ิ
ผลจากค าพพากษาของศาลสูงสุดใน พ.ศ. 2556 นี้ ท าให้ชาวบ้านในพนที่กว่า 400 ครัวเรือนต้อง
ั
้
อยู่ในสภาวะ “จ ายอม” จากถูกปฏิเสธการเข้าถึงไฟฟาอนมีสาเหตุเพราะคนเหล่านี้ถูกลดสถานะจากการเป็น
ึ
พลเมืองที่มีสิทธิพงได้รับบริการจากภาครัฐตามที่ได้บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 มาตรา 4 ที่ระบุว่า
“ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของบุคคลย่อมได้รับความคุ้มครอง” รัฐธรรมนูญ
ั
ฉบับดังกล่าวยังให้ความส าคัญกับการไม่เลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมต่อบุคคลอนเนื่องมาจากความแตกต่าง
ทางถิ่นก าเนิด เชื้อชาติ ศาสนา เพศ ภาษา สถานะของบุคคลทั้งทางเศรษฐกิจและสังคม สถานะและ
หลักประกันดังกล่าวนี้ได้สูญสลายไปเมื่อชาวบ้านได้กลายมาเป็น “ผู้กระท าผิดกฎหมาย” ที่ไม่สามารถอ้างสิทธิ
ในการได้มาซึ่งการรับบริการจากหน่วยงานรัฐดังที่ปรากฎในข้อโต้แย้งของศูนย์การทหารราบ ค่ายธนะรัชต์
ิ
ิ
หากพจารณาภายใต้มุมมองตามกรอบของกฎหมายแล้ว ค าพพากษาของศาลปกครองสูงสุดนั้นย่อม
ถือเป็นที่สิ้นสุด แต่ในอกด้านหนึ่งเราอาจต้องตั้งค าถามให้ไปไกลกว่าข้อถกเถียงด้านกฎหมาย โดยเฉพาะหาก
ี
พจารณาปัญหาด้วยสายตาของรัฐประศาสนศาสตร์ (public administration) ซึ่งเป็นการผสานความเป็น
ิ
ศาสตร์และศิลป์ของการเมืองและการบริหารจัดการ Frederickson (1990, pp. 228-229) ระบุว่าการ
ท างานของของรัฐประศาสนศาสตร์ต้องตอบสนองต่อเสาหลัก 3 ประการ คือ ประสิทธิภาพ (efficiency)
ประสิทธิผล (efficiency) และความเป็นธรรมทางสังคม (social equity) โดยสองเสาแรก คือ ประสิทธิภาพ
และความประหยัดเป็นเป้าหมายที่หยิบยืมมาจากศาสตร์ของการบริการจัดการ ส่วนเสาที่สาม คือ ความเป็น
24
ธรรมทางสังคม ท าหน้าที่เป็นตัวแทนของความเป็นการเมือง และเสาที่สามนี้เองที่ท าให้รัฐประศาสนศาสตร์
แตกต่างไปจากการท างานของเอกชน
นอกจากนี้ รัฐประศาสนศาสตร์ยังเกี่ยวข้องกับการเมืองผ่านการน านโยบายไปปฏิบัติ การท าหน้าที่ท า
ให้รัฐประศาสนศาสตร์ต้องอาศัยฐานความชอบธรรมจากการรับใช้ประชาชน (public servant) ความเกี่ยว
เนื่องกันระหว่างรัฐประศาสนศาสตร์กับการเมืองที่ยึดโยงด้วยแนวคิดเรื่องความเป็นธรรมทางสังคม เกิดขึ้นจาก
ฐานคิดเรื่อง “สัญญาประชาคม” (social contract) ที่ยืนยันถึงฐานความชอบธรรมของรัฐที่มาจากการ
ยินยอมของประชาชน หน้าที่ของรัฐจึงผูกพันกับประชาชนที่ต้องปกป้องและรักษาไว้ซึ่ง “สิทธิ” ของประชาชน
กล่าวคือ สิทธิไม่ได้เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นในสุญญากาศ แต่เป็นสิ่งที่ต้องลงแรงให้ได้มาอย่างมีความหมาย (Arendt,
1951 อ้างใน Guy and McCandless, 2012, p. s9) และแนวคิดเรื่องความเป็นธรรมทางสังคมในทางหนึ่ง
เป็นการยืนยันและรับประกันสิทธิดังกล่าวไม่ว่าจะเป็นคนนั้นจะเป็นคนที่เสียประโยชน์ในสังคมก็ตาม กล่าวคือ
24 เป้าหมาย 2 ประการแรกของรัฐประศาสนศาสตร์ คือ ประสิทธิภาพและประสิทธิผล ได้กลายมาเป็นเป้าหมายหลักที่ครอบง าการท างานของรัฐ
ประศาสนศาสตร์จากการที่มีความพยายามแยกศาสตร์ดังกล่าวออกจากการเมือง หรือความเป็นกลางทางการเมือง แต่ในเวลาต่อมาเกิดการวิจารณ ์
ว่าการครอบงาดังกล่าวไม่สามารถแก้ไขปัญหาสังคมที่เกิดขึ้นได้ ด้วยเหตุนี้ จึงมีความพยายามจากบรรดานักวิชาการจากการประชุม
Minnowbrook ใน ค.ศ. 1969 เพื่อให้ความส าคัญของความเสมอภาคทางสังคม และนี่เป็นที่มาของยุครัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่ (New Public
Administration: NPA)
138