Page 143 - thaipaat_Stou_2563
P. 143
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
การเข้าถึงไฟฟาและพลังงานจึงควรถูกนับรวมว่าเป็น “สิทธิ” และควรได้รับการยอมรับในระดับ
้
27
ื่
ของ “สิทธิมนุษยชน” ที่ไม่ได้ถูกจ ากัดไว้เพยงแค่ประชาชนภายในรัฐใดรัฐหนึ่งเท่านั้นเพอตอกย้ าถึง
ี
ความส าคัญของสวัสดิภาพทางสังคมและเศรษฐกิจ และเป็นวิธีการส าคัญและเป็นเงื่อนไขทางวัตถุที่จะน าไปสู่
การได้มาซึ่งสิทธิอน ๆ เช่น สิทธิในการมีที่อยู่อาศัย (Löfquist, 2019) การเข้าถึงแหล่งพลังงานที่มีความ
ื่
ั
ื
ุ่
้
เสถียรอย่างไฟฟาไม่ควรถูกเหมารวมว่าเป็น “สิ่งฟมเฟอย” หรือของทั่วไปที่ผู้คนในสังคมที่พฒนาแล้วใช้อย่าง
ไม่รู้ค่า แต่การเข้าถึงพลังงานควรถูกนับว่าเป็นสิทธิมนุษยชนที่พึงได้รับการปกป้องและเคารพในทุกสถานการณ์
ทั้งในยามสงบและยามสงคราม (Ngai, 2012)
้
อย่างไรก็ตาม จากกรณีของหนองตาแต้มที่ถูกปฏิเสธสิทธิในการเข้าถึงไฟฟาจากสาเหตุเรื่องการ
กรรมสิทธิ การท าผิดกฎหมายนั้นสามารถใช้เพอปฏิเสธการเข้าถึงสิทธิในการได้รับการบริการจากภาครัฐ
ื่
หรือไม่นั้น อาจสามารถเทียบเคียงได้กับสถานการณ์การเข้าไม่ถึงไฟฟาของผู้คนที่อาศัยอยู่ในสลัมซึ่งมีปัญหา
้
เรื่องกรรมสิทธิ์ที่ดิน
ซิงห์และคณะ (Singh, Wang, Mandoza, & Ackom, 0 1 9 ) ศึกษาการเข้าไม่ถึงไฟฟาอน
ั
้
2
ั
เนื่องมาจากขยายตัวของเมืองอย่างรวดเร็วในประเทศที่ยากจนและก าลังพฒนา 7 ประเทศ และคาดการณ์ว่า
ื้
ื้
80 เปอร์เซ็นต์ของพนที่ในประเทศเหล่านี้จะเป็นพนที่เมืองที่มีประชากรหนาแน่นภายในปี ค.ศ. 2050 ซึ่ง
เกินกว่าความสามารถที่รัฐบาลท้องถิ่นและระดับชาติจะขยายสาธารณูปโภคเพอรองรับได้ทัน ผู้คนกลุ่มนี้ต้อง
ื่
เผชิญกับปัญหาเรื่องการเข้าถึงบริการสารณูปโภคอันเนื่องมาจากการไม่มีซึ่งสิทธิในที่ดิน
ข้อเสนอที่ส าคัญของการศึกษานี้ คือ ประการแรก การเข้าถึงไฟฟาควรถูกให้ความส าคัญในฐานะสิทธิ
้
มนุษยชน และควรมีแนวทางที่ยืดหยุ่นมากกว่าการข้อจ ากัดทางกฎหมาย กล่าวคือ รัฐออกเอกสารเพอให้
ื่
บริการไฟฟ้าได้โดยที่ไม่กระทบกับกรรมสิทธิที่ดิน (Singh et al., 2019, p. 342) และประการสุดท้ายต้องให้
ความส าคัญกับ “การเป็นส่วนหนึ่งในสังคม” (social inclusion) ของบรรดาผู้คนในสลัมที่มีสถานะของความ
เป็นชายขอบแม้จะอยู่ในพนที่เมืองศูนย์กลาง คือ ไม่ปฏิเสธหรือละเลยสิทธิที่พวกเขาพงได้และนับรวมว่าคน
ึ
ื้
เหล่านี้เป็นส่วนหนึ่งในสังคม
ควำมขัดกันของคุณค่ำและรัฐรำชกำรไทย
หากเทียบเคียงกับกรณีศึกษานี้กับกรณีของหนองตาแต้มจะพบกับค าถามส าคัญ คือ เพราะเหตุใด
้
้
สถานการณ์ของการไม่สามารถเข้าถึงไฟฟาของชาวบ้านกลับกลายมาเป็นประเด็นฟองร้องในศาล และการ
แก้ไขปัญหานั้นมีโอกาสที่จะมีแนวทางที่ยืดหยุ่นมากไปกว่าข้อจ ากัดทางกฎหมายหรือไม่ ซ้ าร้ายไปกว่านั้นคือ
กลุ่มชาวบ้านหนองตาแต้มพยายามที่จะไปพดคุยกับตัวแทนของศูนย์การทหารราบ แต่กลับเกิดปัญหา
ู
27 Burgess และคณะ (2019) โต้แย้งว่า บรรทัดฐานทางสังคมที่ให้สิทธิในการเข้าถึงไฟฟ้าจะกลายมาเป็นภาระของรัฐที่ต้องแบกรับค่าใช้จ่ายและ
กลายเป็นข้อจ ากัดต่อการขยายพื้นที่จ าหน่ายไฟฟ้า ทั้งนี้ การให้นิยามการเข้าถึงไฟฟ้าในฐานะสิทธิของผู้เขียนไม่ได้หมายความว่าทุกคนนั้นจะ
สามารถใช้ไฟฟ้าได้ฟรี แต่สิทธิดังกล่าวหมายถึงผู้คนสามารถได้รับประโยชน์ที่เกิดจากการเข้าถึงไฟฟ้าได้อย่างสมเหตุสมผล คือ มีราคาที่
สมเหตุสมผล
141