Page 144 - thaipaat_Stou_2563
P. 144

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓



               เนื่องจากมีการสับเปลี่ยนโยกย้ายต าแหน่งนายทหารที่รับผิดชอบตลอดอยู่ตลอดท าให้ไม่มีความต่อเนื่องใน

                         ู
               ประเด็นที่พดคุย สิ่งนี้อาจสะท้อนถึงการที่ปัญหาดังกล่าวไม่ได้ถูกให้ความส าคัญในฐานะที่เป็นปัญหาก็เป็นได้
                        ี
               ข้อสังเกตอกประการ คือ และการที่คนเหล่านี้ไม่ได้ต้องการต่อสู้กับศูนย์การทหารราบจากกรณีเรื่องกรรมสิทธิ์
               ที่ดิน แต่เป็นสิทธิในการได้รับบริการจากภาครัฐยิ่งกลายมาเป็นสิ่งที่สะท้อนถึง “การมองเห็น” บรรดาชีวิตของ

               ผู้คนจากสายตาของรัฐหรือไม่ รวมไปถึงแนวคิดเรื่องความเป็นธรรมทางสังคมที่ให้ความส าคัญกับการตระหนัก
               ถึงบรรดาผู้ที่เสียเปรียบถูกน ามาปรับโดยผู้ที่เกี่ยวข้องด้านรัฐประศาสนศาสตร์และกระบวนการนโยบาย

               สาธารณะมากเพียงใด

                                                                       ้
                       อย่างไรก็ตาม ผลที่เกิดขึ้นจากปัญหาการเข้าไม่ถึงไฟฟาของหนองตาแต้มก็ได้สะท้อนถึงความ
               เหนือกว่าของชุดคุณค่าบางประการในสังคมไทย กล่าวคือ ท างานของระบบราชการและกระบวนการนโยบาย

               สาธารณะนั้นมีความซับซ้อนแตกต่างจากองค์กรเอกชนที่มีเป้าหมายเพอองค์กรเท่านั้น (Hoggett, 2006, p.
                                                                          ื่
                                                                   ื้
               175) แต่การท างานระบบราชการและนโยบายสาธารณะคือพนที่ของการช่วงชิง (contested space) ที่เต็ม
               ไปด้วยการขัดแย้งกันระหว่างชุดคุณค่า (completing value) ของตัวแสดงต่าง ๆ (Frederickson, 2010)


                                         ้
                       ฉะนั้น จึงไม่สามารถอางได้ว่าเป็นกลางทางคุณค่า (not value neutral) เพราะการตัดสินใจและการ
                                                                                          ุ
               ไม่ตัดสินใจที่เกิดขึ้นนั้นย่อมสะท้อนถึงการเลือกรับและกดทับชุดคุณค่าอยู่เสมอ ในทางอดมคติแล้วนั้นการ
               ตัดสินใจหรือไม่ตัดสินใจของรัฐนั้นจะต้องให้ความส าคัญกับความเป็นธรรมทางสังคม แต่ก็อาจเป็นไปได้ว่าจาก
               สถานการณ์ที่เกิดขึ้นนั้นสะท้อนถึงความเหนือกว่าของคุณค่าของความมั่นคงที่ความมั่นคงของมนุษย์ไม่ได้ถูก

                                           ิ
               นับรวมไว้ด้วย โดยเฉพาะหากพจารณาถึงบริบทของสังคมไทยที่การเมืองถูกครอบง าด้วยระบบราชการ
                                                                                        ี
               (bureaucratic polity) ที่การเมืองถูกครอบง าด้วยระบบราชการเป็นระยะเวลานาน อกทั้งการที่กองทัพได้
               กลายมาเป็นตัวแสดงทางการเมืองที่มีบทบาทอย่างมากในระยะเวลากว่า 10 ปีที่ผ่านมามีส่วนส าคัญท าให้เกิด


               การการครอบง าทางอานาจของระบบราชการต่อการด าเนินนโยบายสาธารณะและรัฐประศาสนศาสตร์ ภายใต้
               บริบทสังคมการเมืองที่ถูกครอบง าด้วยระบบราชการอย่างยาวนานเช่นนี้ย่อมต้องส่งผลต่อสถานะของ
                                                                                       ้
                                                                                          ิ
               ประชาชนผู้ทรงสิทธิ เพราะความชอบธรรมทางการเมืองจากที่มีประชาชนเป็นแหล่งอางอง กลับถูกพรากไป
               โดยการท ารัฐประหารที่กินเวลายาวนากว่า 10 ปีที่ผ่านมา


                       บทส่งท้ำย

                       ประเทศไทยมีไฟฟาใช้มาตั้งแต่ พ.ศ. 2427 จนถึงปัจจุบัน (พ.ศ. 2563) เป็นเวลากว่า 136 ปี (เว็บ
                                      ้
                                                                    ้
               ความเหลื่อมล้ าฉบับพกพา, 2017) แต่ปัญหาการเข้าไม่ถึงไฟฟาใช้ก็ยังคงเป็นปัญหามาอย่างยาวนาน ปัญหา
                                                                                                      ้
               การเข้าไม่ถึงไฟฟ้าของหนองตาแต้มสะท้อนความซับซ้อนของปัญหาดังกล่าวในลักษณะที่การเขาไม่ถงไฟฟานั้น
                                                                                             ้
                                                                                                 ึ
               ไม่เกิดขึ้นจากปัจจัยทางภูมิศาสตร์เรื่องของความไกล แต่กลับฉายภาพให้เห็นถึงปัญหาความไม่เป็นธรรมทาง
               สังคมที่ถูกผลิตซ้ าผ่านการด าเนินนโยบาย กรณีที่คล้ายคลึงกันนี้ คือ ชุมชนบ่อแก้ว จังหวัดชัยภูมิ ที่ถูกปฏิเสธ

               การเข้าถึงไฟฟาปัญหากรรมสิทธิ์ที่ดินทับซ้อนกับพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติป่าภูซ าผักหนามซึ่งถูกใช้ประโยชน์โดย
                           ้
                                                                                                       ่
               องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ (ออป.) และในที่สุดมีค าตัดสินศาลฎีกาให้ชาวบ้านออกจากพื้นที่ดังกล่าว (เครือขาย

                                                                                                     142
   139   140   141   142   143   144   145   146   147   148   149