Page 165 - thaipaat_Stou_2563
P. 165
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
ื่
การเมือง ตลอดจนอุดมการณ์ทางการเมือง ทั้งหมดนี้จึงน ามาสู่การเขียนบทความเพอให้เกิดข้อถกเถียงว่าด้วย
เรื่องของอานาจสถาปนาในรัฐธรรมนูญซึ่งเป็นการตั้งค าถามไปยังประชาชนของรัฐว่าแท้จริงแล้วรัฐธรรมนูญที่
ใช้กันอยู่ ณ ปัจจุบัน อานาจในรัฐธรรมนูญนั้นควรเป็นของใคร ทั้งนี้ยังตั้งค าถามไปยังกระบวนการของการ
ั
พฒนาประชาธิปไตยของรัฐไทยว่าที่ผ่านมาปัญหาที่เกิดขึ้นกับการเมืองไทยที่ถูกอานาจของเผด็จการเข้า
แทรกแซงทุกครั้งหลังจากการประกาศใช้รัฐธรรมนูญและมีการเลือกตั้ง จนท าให้ประชาชนของรัฐถูกท าให้เชื่อ
ว่านี้คือวงจรชีวิตของการเมืองไทย อย่างไรนั้นการตั้งข้อถกเถียงดังกล่าวมีสองกรอบคิด คือ 1. การหา
ค าอธิบายว่าปัญหาทางการเมืองไทยเกิดจากการละเลยและไม่สนใจกับการท าความเข้าใจเรื่องที่มาของค าว่า
ื้
รัฐธรรมนูญจนท าให้เกิดการตีความหมายของรัฐธรรมนูญเออประโยชน์ในเชิงการเมืองมากกว่าจะเป็นผลผลิต
ของการเป็นปฏิปักษ์กับระบอบการเมืองเก่า 2. การแก้ไขปัญหาทางการเมืองโดยสร้างเครื่องมือและองค์กร
ต่างๆ ขึ้นมาเพอแก้ไขโดยไม่ค านึงถึงหลักการและที่มาของค าว่ารัฐธรรมนูญ การตั้งค าถามดังกล่าวเป็นกระแส
ื่
การเมืองในรูปแบบใหม่ในช่วงหลังการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในปี พ.ศ. 2562 โดยมีพรรคการเมือง
ที่ก่อก าเนิดขนมาโดยไม่ยึดขนบของวัฒนธรรมการเมืองไทยที่มักจะอิงอยู่กับการได้มาซึ่งอานาจรัฐมากกว่าการ
ึ้
ต่อสู้เคียงข้างสิทธิและความเป็นอยู่ของประชาชน พรรคการเมืองที่กล่าวถึงก็คือ พรรคอนาคตใหม่ (Future
Forward Party) สิ่งที่ปรากฏเป็นที่ประจักษ์ในการต่อสู้ช่วงชิงการจัดตั้งรัฐบาลหลังจากการเลือกตั้ง คือ พรรค
อนาคตใหม่พยายามอธิบายปัญหาทางการเมืองที่เกิดขึ้นเกิดจากโครงสร้างและสถาบันทางการเมืองที่เป็น
รัฐธรรมนูญที่ถูกละเลยเรื่องการตีความหมายว่าเป็นผลผลิตของสัญญะของการแตกหักกับระบอบเก่า ดังนั้น
เส้นทางและนโยบายของพรรคอนาคตใหม่ที่ปรากฏจึงมุ่งท าให้สังคมและประชาชนตระหนักถงอ านาจสถาปนา
ึ
ในรัฐธรรมนูญว่าแท้จริงแล้วประชาชนคือเจ้าของอ านาจอธิปไตย
กำรเดินทำงของพรรคกำรเมืองที่ชื่อว่ำ “อนำคตใหม่” บนเส้นทำงกำรพัฒนำประชำธิปไตย
่
“พรรคอนำคตใหม” ได้รับการรับรองสถานภาพเป็นพรรคการเมืองอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 3
ตุลาคม พ.ศ.2561 ทางพรรคได้ด าเนินการหาเสียงด้วยนโยบายหาเสียงที่จะยับยั้งการสืบทอดอานาจของ
ุ
คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ผ่านพรรคพลังประชารัฐอย่างเต็มก าลัง จึงประกาศอดมการณ์และ
เป้าหมายผ่านพื้นที่สาธารณะที่มุ่งให้ความส าคัญกับเสียงของประชาชน ต้องการเป็นรัฐบาล และพร้อมที่จะจับ
มือกับทุกพรรคการเมืองที่ต่อต้านอานาจของ คสช. ส่งผลให้ผู้มีสิทธิเลือกตั้งโดยเฉพาะ “คนรุ่นใหม่ที่มีสิทธิ
33
เลือกตั้งครั้งแรก (First Vote), ผู้ที่เบื่อหน่ายการเมือง/นักการเมืองแบบเก่า และผู้ที่มีความคิดต่อต้านเผด็จ
การ” ให้ความสนใจพรรคอนาคตใหม่เป็นอย่างมาก จนได้รับคะแนนนิยมเป็นอนดับที่ 3 ด้วยคะแนนเกือบ
ั
6.3 ล้านคะแนน พรรคอนาคตใหม่ได้เข้าร่วมกับพรรคฝั่งต่อต้านเผด็จการทั้งหมด 7 พรรค ท าหน้าที่เป็น
พรรคฝ่ายค้านในรัฐสภา ในวันที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ.2562 พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินท
รมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงเปิดประชุมรัฐสภา ณ ห้องประชุมวิเทศสโมสร กระทรวง
34
การต่างประเทศ ประกอบไปด้วยสมาชิกวุฒิสภา 250 คน และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 498 คน รวมธนา
ธร จึงรุ่งเรืองกิจ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อพรรคอนาคตใหม่ที่ถูกศาลรัฐธรรมนูญตัดสินให้
หยุดปฏิบัติหน้าที่ ตั้งแต่ 23 พฤษภาคม พ.ศ.2562 ท าให้ธนาธรต้องออกมาเคลื่อนไหวและท างานร่วมกับ
พรรคร่วมฝ่ายค้านนอกรัฐสภา
33 ข่าวสด. (2562). “ธนำธร” ปลุกต้ำนรัฐประหำร! เอือมศึกแย่งเก้ำอี้ ซัด “บิ๊กต” จับ ปชช.เป็นตัวประกัน. สืบค้นเมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์
ู่
2563, แหล่งที่มา : https://www.khaosod.co.th/politics/news_2672775.
34 บีบีซี นิวส์. (2562). พิธีเปิดประชุมรัฐสภำ : พระรำชด ำรัสในหลวง ร.10 ให้สมำชิกรัฐสภำ “หนักแน่นด้วยเหตุผลที่ถูกต้อง”. สืบค้นเมื่อ
วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2563, แหล่งที่มา : https://www.bbc.com/thai/thailand-48392981.
163