Page 198 - thaipaat_Stou_2563
P. 198

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓



               ยังเป็นเรื่องที่ประชาชนชาวอเมริกันยังให้ความสนใจอย่างมากและมีการออกมารงณรงค์เรื่องความเท่าเทียมกัน
               อย่างแพร่หลายในปัจจุบัน
                       4. ประเด็นความเหลื่อมล้ าทางการศึกษา ภาพยนตร์ได้สะท้อนภาพของสังคมปัจจุบันผ่านภาพของ
               ชนบทกับการเข้าถึงการศึกษาซึ่งภาพยนตร์ใช้บ้านเกิดของจูดี้เป็นตัวแทนของความห่างไกลการพัฒนาและการ

               เข้าถึงระบบการศึกษาที่มีคุณภาพเมื่อเปรียบเทียบประชากรในชนบทที่ควรได้รับการศึกษาเทียบเท่าการ
               ประชากรในเมืองหลวง รวมถึงสภาวะสมองไหลที่เกิดขึ้นจากการรวมความเจริญและประชากรที่มีคุณภาพเข้า
               สู่เมืองหลวงท าให้ชนบทไม่สามารถพัฒนาตนเองได้
                       5. ประเด็นการเลื่อนชั้นทางสังคม ภาพยนตร์พยายามสื่อสารผ่านการแบ่งแยกชนชั้นในสังคมของสัตว์
               ทั้งหลายผ่านการเหยียดเผ่าพันธุ์และการผลักดันให้สัตว์นักล่ากลายเป็นพลเมืองชั้นสองที่ต้องถูกกีดกันออกจาก
                                                                                                        ี
               สังคม รวมไปถึงการกระจุกของทรัพยากรที่อยู่กับคนบางกลุ่ม การสะท้อนภาพถึงความกินดีอยู่ดีของหนูมาเฟย
               ที่ท าตัวเหนือกฎหมายกับข้าราชการชั้นผู้น้อยที่ต้องคอยรับค าสั่งและใช้ชีวิตอย่างอดอยากในห้องเช่าเล็กๆ และ

                  ื่
               เพอนของตัวเอกที่ต้องทนทุกข์กับการถูกตีตราจากสังคมว่าเป็นจิ้งจอกจอมหลอกลวงทั้งหมดคือสภาพสังคม
               จริงที่พยายามสร้างความแตกต่างผ่านเผ่าพนธุ์ เชื่อชาติ ความเชื่อ เพอไม่ให้สังคมยอมรับกลุ่มคนเหล่านี้และ
                                                   ั
                                                                         ื่
               พยายามผลักดันกลุ่มคนเหล่านี้ออกจากสังคมซึ่งสหรัฐอเมริกาก็ยังไม่สามารถแก้ไขปัญหาเหล่านี้ได้จนหมด
                       ดังนั้นจากทั้งห้าประเด็นนี้เปรียบเสมือนการยกสภาพของปัญหาสังคมที่เกิดขึ้นจริงในเมืองนิวยอร์ก
               ของสหรัฐอเมริกามาถ่ายทอดผ่านภาพยนตร์ซูโทเปียที่มีการด าเนินเรื่องผ่านตัวละครเช่นจูดี้ในการสะท้อนถึง
               ปัญหาที่มีอยู่ในสังคม ในเชิงภาพยนตร์สร้างสรรค์แต่มีการฝากเรื่องราวปัญหาที่รอการแก้ไขผ่านไปให้

                                                                           ื่
               ประชาชนทั้งในประเทศและต่างประเทศได้เล็งเห็นถึงปัญหาดังกล่าวเพอให้ประชาชนได้เห็นถึงความชัดเจน
                                                             ื่
               ของปัญหามากยิ่งขึ้นผ่านการสื่อสารแบบสมัยนิยม เพอให้ได้คบคิดและวิพากษ์วิจารณ์ถึงปัญหาที่ซุกซ้อนใน
               สังคมของประเทศพัฒนาแล้วเช่นนี้
                       นอกจากนี้ อย่างที่กล่าวไปแล้วว่าแนวคิดเสรีนิยมใหม่ที่ให้คุณค่ากับค่าจ้างแรงงานกับมูลค่าของสินค้า
               ที่มาจากระบบการผลิต  ท าให้นโยบายสังคมและเศรษฐกิจถูกชี้น าด้วยมูลค่าของเงินและการลงทุนทางธุรกิจ
               การจ้างงานและการกระจายรายได้จึงเดินไปภายใต้การควบคุมของภาคเอกชน ดังนั้น คนที่เก่ง ขยัน และมี
               ความสามารถจะได้รับผลประโยชน์ที่สูงกว่าคนที่ไม่เก่ง  ในทางหนึ่งเป็นการสะท้อนให้เห็นถึงความเชื่อในสมัย
               หนึ่งของสหรัฐอเมริกาซึ่งก็คือ แนวคิดความฝันของอเมริกา (American dream)

                       เมื่อน าสภาพแวดล้อมของสังคมปัจจุบันที่มีคติความเชื่อและแนวคิดที่หลากหลายมากขึ้นท าให้
               American dream นั้น กลายเป็นแนวคิดที่ไม่สามารถด ารงอยู่ได้ในยุคปัจจุบันที่มีความเหลื่อมล้ ากันมาก
               เสมือนกลายเป็นแนวคิดในอดมคติไปแล้ว  ทั้งนี้ ในภาพยนตร์เรื่องซูโทเปียก็ได้แสดงให้เห็นเช่นกัน  กล่าวคือ
                                       ุ
               การต้องการยกระดับชนชั้นทางสังคมที่ตัวละครภายในเรื่องโดยเฉพาะจูดี้ ที่พยายามจะท าตามความฝันของ
               อเมริกา เห็นได้จากค าขวัญของซูโทเปียที่ว่า “Anyone can be anything หรือ ทุกคนสามารถเป็นอะไรก็ได้”
               ไม่ต่างจากแนวคิดความฝันของอเมริกาที่ทุกคนสามารถยกระดับทางสังคมให้ดีมากยิ่งขึ้นได้อย่างเสรี แต่ขนอยู่
                                                                                                      ึ้
               กับว่าบุคคลใดจะสามารถแย่งชิงทรัพยากรได้มากกว่ากัน ซึ่งสอดคล้องกับระบบเศรษฐกิจของประเทศอเมริกา ที่
               ถึงแม้ภาพยนตร์จะไม่ได้เอยถึงก็ตาม  ดังนั้น กล่าวได้ว่า American dream อาจจะไม่เหมาะสมกับสังคมในปัจจุบัน
               ที่ทุกคนไม่ได้มีต้นทุนชีวิตที่เท่าเทียมกัน  แม้ในอดีตการมีต้นทุนชีวิตที่ไม่เท่าเทียมกันจะตอบสนองความฝันของ
               อเมริกาได้จริง  แต่ในยุคนี้มีปัจจัยหลายอย่างที่มากเกินไปจนส่งผลให้ทุกคนไม่สามารถแข่งขันกันได้อย่างเท่า
               เทียม  ในอกแง่หนึ่งในยุคที่ความฝันของอเมริกาเฟองฟ คือยุคที่คนรุ่นนั้นสะสมและกอบโกยเป็นฐานให้คนใน
                                                             ู
                         ี
                                                         ื่
               ยุคปัจจุบันก็ว่าได้  ซึ่งในที่สุดแล้วทุกคนก็ไม่ได้รับผลลัพธ์ที่เท่าเทียมกัน  จึงกลายมาเป็นต้นทุนที่ท าให้ความ
               เหลื่อมล้ าคงอยู่ และทวีความรุนแรงมากขึ้นไปอีก
               สรุป



                                                                                                     196
   193   194   195   196   197   198   199   200   201   202   203