Page 202 - thaipaat_Stou_2563
P. 202

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓



               morale. As for the guidelines for improving the efficiency of the inquiry officers, it is found that

               to improve the efficiency of the inquiry officers, the policymakers and management should
               consider the increase in the efficiency of the budget and personnel management and increase

               support for equipment or technology.  As for the development of the performance of the

               inquiry officers, there should be equality, fairness, transparency, and accountability to provide
               justice for both the victim and the accused.










               Keywords: Guidelines on Improving Work Efficiency Protecting Offenders, Rights and

               Freedom, the Constitution of the Kingdom of Thailand B.E. 2560.

               ควำมเป็นมำและควำมส ำคัญของปัญหำ
                                                                                                 ุ
                          ประเทศไทยมีการปกครองในระบบประชาธิปไตย แต่ก็ยังมีสาเหตุและปัจจัยที่เป็นอปสรรคใน
               การปกครองตามระบบประชาธิปไตย ยังมีเหตุการณ์ต่าง ๆ เกิดขึ้นท าให้ประชาชนเสื่อมศรัทธาต่อการปกครอง
                                                        ื้
               บ้านเมือง ท าให้ต้องมีการปฏิรูปรัฐธรรมนูญที่มีพนฐานมาจากส่วนร่วมของประชาชน การท าให้สิทธิเสรีภาพ
                                                                            ั
               ขั้นมูลฐานตามรัฐธรรมนูญมีผลบังคับใช้ได้ในการปฏิรูปก่อนเป็นรูปธรรมอนเป็นเงื่อนไขที่จ าเป็น และส าคัญที่
               น าไปสู่ความส าเร็จในการปฏิรูปการเมืองของสังคมไทย ประชากรมีสิทธิเสรีภาพขั้นพนฐานที่สามารถสัมผัสได้
                                                                                     ื้
               ย่อมท าให้มีสิ่งที่คอยกระตุ้นให้ทุกคนมีความตระหนักในศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ไม่ยินยอมให้กับการใช้


               อานาจรัฐที่เกินเลยหรือปกครองนอกเหนือกฎหมายด้วยประการใด ๆ ซึ่งนับแต่พระบาทสมเด็จพระปรมินทร
               มหาประชาธิปก พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทานรัฐธรรมนูญ
                                      ุ
               แห่งราชอาณาจักรสยาม พทธศักราช 2475 เป็นต้นมา การปกครองของประเทศไทยได้ด ารงเจตนารมณ์ยึด
               มั่นในระบอบประชาธิปไตย อนมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขต่อเนื่องมาโดยตลอด แม้ได้มีการยกเลิก
                                         ั
               แก้ไขเพมเติมและประกาศใช้รัฐธรรมนูญที่หาทางออกไม่ได้ เหตุส่วนหนึ่งเกิดจากการมีผู้ไม่ย าเกรงกฎเกณฑ์
                      ิ่

               การปกครองบ้านเมือง ทุจริต ฉ้อฉล หรือบิดเบือนอานาจ หรือขาดความตระหนักส านึกรับผิดชอบต่อ
               ประเทศชาติและประชาชน จนท าให้การบังคับใช้กฎหมายไม่เป็นผล จ าเป็นต้องป้องกันและแก้ไขด้วยการ
               ปฏิรูปการศึกษาและการบังคับใช้กฎหมาย และเสริมสร้างความเข้มแข็งของระบบคุณธรรมและจริยธรรม แต่
                 ี
               อกเหตุผลหนึ่งเกิดจากกฎเกณฑ์บ้านเมืองและกาลสมัย ให้ความส าคัญแก่รูปแบบและวิธีการยิ่งกว่าหลักการ
               พนฐานในระบอบประชาธิปไตยหรือไม่อาจน ากฎเกณฑ์ที่มีอยู่มาใช้แก่พฤติกรรมของบุคคลและสถานการณ์ใน
                 ื้
               ยามวิกฤติที่มีรูปแบบและวิธีการแตกต่างไปจากเดิมให้ได้ผล
                          รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาไทย (ฉบับชั่วคราว) พทธศักราช 2557 แก้ไขเพมเติม (ฉบับที่ 1)
                                                                                           ิ่
                                                                    ุ
                                                                                             ื่
                 ุ
               พทธศักราช 2558 จึงได้บัญญัติให้มีคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญมีหน้าที่ร่างรัฐธรรมนูญเพอใช้เป็นหลักใน
                                                                                         ื่
               การปกครอง และเป็นแนวทางในการจัดท ากฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญและกฎหมายอน โดยก าหนดกลไก
               เพอจัดระเบียบและสร้างความเข้มแข็งแก่การปกครองประเทศขึ้นใหม่ด้วยการจัดโครงสร้างหน้าที่และอานาจ

                 ื่

               ขององค์กรต่าง ๆ ตามรัฐธรรมนูญ การให้สถาบันศาลและองค์กรอน มีหน้าที่ตรวจสอบการใช้อานาจรัฐ
                                                                         ื่
                                                                                                     200
   197   198   199   200   201   202   203   204   205   206   207