Page 253 - thaipaat_Stou_2563
P. 253
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
1.2.3 บทบัญญัติใน “หมวดที่ 10 กำรตรวจสอบกำรใช้อำนำจรัฐ” จ านวน 1
มาตรา คือ มำตรำที่ 291 (การแสดงบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินของผู้ด ารงต าแหน่งทางการเมืองและคู่สมรสฯ
และอาจรวมมาตราอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับมาตรานี้)
2. รัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พ.ศ. 2550
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 มีบทบัญญัติที่เกี่ยวข้องกับการปกครองส่วน
ั
ท้องถิ่นอยู่ใน 22 มำตรำ โดยเป็นบทบัญญัติใน “หมวดที่ 14 การปกครองส่วนท้องถิ่น” (อนเป็นหมวดหลัก
ของเรื่องการกระจายอ านาจสู่ท้องถิ่น) จ านวน 10 มาตรา และบทบัญญัติในหมวดอื่นๆ อีก 12 มาตรา ดังนี้
2.1 บทบัญญัติใน “หมวดที่ 14 กำรปกครองส่วนท้องถิ่น จ านวน 10 มาตรา ได้แก่
มำตรำ 281 (รัฐต้องให้ความเป็นอาระแกท้องถิ่นตามสมควร ภายใต้มาตรา 1 ของ
่
รัฐธรรมนูญ และให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นหน่วยงานหลักในการจัดท าบริการสาธารณะ) มำตรำ 282
ื่
(การก ากับดูแลองค์กรแกครองส่วนท้องถิ่นต้องท าเท่าที่จ าเป็น...โดยเป็นไปเพอคุ้มครองประโยชน์ของ
ื่
ประชาชนในท้องถิ่น โดยให้มีการก าหนดมาตรฐานกลางเพอเป็นแนวทางให้องค์กรฯ เลือกไปปฏิบัติ) มำตรำ
ี
ี
ิ
ิ
283 (ให้อำนำจองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมอสระในกำรดูแลและจัดท ำบริกำรสำธำรณะ มอสระรวมทั้ง
นโยบำยกำรบริหำรบุคคล กำรเงินและกำรคลังฯ และให้มีกฎหมำยก ำหนดอ ำนำจหน้ำที่ในกำรจัดเก็บภำษี
ื่
และรำยได้อน) มำตรำ 284 (ก าหนดให้มีสภาท้องถิ่นและคณะผู้บริหารท้องถิ่น โดยการเลือกตั้งโดยตรงของ
ประชาชนในท้องถิ่น มีวาระ 4 ปี การจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพเศษให้เป็นไปตามกฎหมาย
ิ
ก าหนด แต่คณะผู้บริหำรท้องถิ่นต้องมำจำกกำรเลือกตั้ง) มำตรำ 285 (การเข้าชื่อถอดถอนผู้ด ารงต าแหน่ง
ในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้เป็นไปตามกฎหมายก าหนด) มำตรำ 286 (หลักเกณฑ์และจ านวนของ
ประชาชนที่สามารถเสนอให้สภาท้องถิ่นออกข้อบัญญัติท้องถิ่นให้เป็นไปตามกฎหมายก าหนด) มำตรำ 287
(ให้ประชาชนในท้องถิ่นมีสิทธิมีส่วนร่วมในการบริหาร และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องรำยงำนกำรจัดท ำ
งบประมำณ กำรใช้จ่ำย และผลกำรด ำเนินงำนในรอบปีต่อประชำชน) มำตรำ 288 (การแต่งตั้งถอดถอน
พนักงาน ลูกจ้างฯ ต้องเป็นไปตามความต้องการและเห็นชอบจากคณะกรรมการท้องถิ่น ซึ่งส่วนหนึ่ง
ประกอบด้วยผู้แทนส่วนราชการ) มำตรำ 289 (ก าหนดหน้าที่บ ารุงรักษาศิลปะ วัฒนธรรมของท้องถิ่น) และ
มำตรำ 290 (ก าหนดอ านาจหน้าที่ในการส่งเสริมรักษาสิ่งแวดล้อม
2.2 บทบัญญัติในหมวดอื่นๆ
2.2.1 บทบัญญัติใน “หมวดที่ 3 สิทธิเสรีภำพของปวงชนชำวไทย” จ านวน 4
มาตรา ได้แก่ มาตรา 56 (สิทธิในการรับทราบและเข้าถึงข้อมูลข่าวสารสาธารณะ) มาตรา 60 (สิทธิที่จะฟอง
้
หน่วยงานภาครัฐ) มาตรา 66 สิทธิในการอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นและทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม)
มาตรา 67 (สิทธิในการอนุรักษ์ บ ารุงรักษา และได้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ)
2.2.2 บทบัญญัติใน “หมวดที่ 5 แนวนโยบำยพื้นฐำนแห่งรัฐ” จ านวน 4 มาตรา
ได้แก่ มำตรำ 78 (แนวนโยบายด้านการบริหารราชการแผ่นดิน วรรค 2 จัดระบบบริหารราชการส่วนกลาง
ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่น ให้มีขอบเขต อานาจ และความรับผิดชอบที่ชัดเจนและเหมาะสมแก่การพฒนา
ั
ประเทศ วรรค 3 กระจำยอำนำจให้องค์กรปกครองส่วนท้องสิทธิพึ่งตนเองและตัดสินใจในกิจกำรท้องถิ่น
ได้เอง ส่งเสริมให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมส่วนร่วมในกำรด ำเนินกำรตำมแนวนโยบำยพื้นฐำนแห่งรัฐฯ)
ี
มำตรำ 79 (สิทธิในการอนุรักษ์ บ ารุงรักษา และได้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ) มาตรา 80
(แนวนโยบายด้านสังคม การสาธารณสุข การศึกษา และวัฒนธรรม วรรค 4 ส่งเสริมและสนับสนุนการกระจาย
ั
อานาจเพอให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น...จัดและมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาเพอพฒนาคุณภาพการศึกษาฯ)
ื่
ื่
มาตรา 85 (แนวนโยบายด้านที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม วรรค 5 ให้ประชาชน ชุมชนท้องถิ่น
251