Page 252 - thaipaat_Stou_2563
P. 252
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
ิ
ื่
พจารณาบทบัญญัติในมาตราอนๆ ที่อยู่นอกหมวดการปกครองส่วนท้องถิ่นด้วย ดังนั้น ผู้วิจัยจึงเห็นว่า การลง
ื่
ี
ิ
ไปพจารณาตัวบทรัฐธรรมนูญอย่างละเอยดทั้งในมาตราที่เกี่ยวข้องโดยตรงและมาตราอนๆ ที่เกี่ยวข้องน่าจะ
ท าให้สามารถชี้ให้เห็นความเปลี่ยนแปลงของการกระจายอ านาจตามกรอบรัฐธรรมนูญได้อย่างชัดเจนมากขึ้น
วิธีกำรวิจัย
งานวิจัยนี้เป็นการวิจัยเอกสาร โดยวิเคราะห์ตัวบทรัฐธรรมนูญ 3 ฉบับในมาตราที่ว่าด้วย “การ
ั
ปกครองส่วนท้องถิ่น” เป็นอนดับแรก และบทบัญญัติที่เกี่ยวข้อง เช่น บทบัญญัติในหมวด “สิทธิเสรีภาพของ
ื้
ปวงชนชาวไทย” บทบัญญัติในหมวด “แนวนโยบายพนฐานแห่งรัฐ” เป็นต้น เป็นล าดับต่อมา โดยพิจารณาว่า
รัฐธรรมนูญแต่ละฉบับได้มีบัญญัติว่าด้วยเรื่องดังกล่าวอย่างไรบ้าง หลังจากนั้นจะวิเคราะห์เปรียบเทียบว่า
ี
รัฐธรรมนูญแต่ละฉบับได้กระจายอานาจให้ท้องถิ่นมากน้อยเพยงใดใน 3 มิติส าคัญ คือ 1. อ านาจ หน้าที่และ
งบประมาณ 2. การได้มาซึ่งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 3. การตรวจสอบโดยภาครัฐและภาคประชาชน
ผลกำรวิจัย
1. รัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พ.ศ. 2540
รัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พ.ศ. 2540 มีบทบัญญัติที่เกี่ยวข้องกับการปกครอง
ั
ส่วนท้องถิ่นอยู่ใน 14 มำตรำ โดยเป็นบทบัญญัติใน “หมวดที่ 9 การปกครองส่วนท้องถิ่น” (อนเป็น
ี
ื่
หมวดหลักของเรื่องการกระจายอานาจสู่ท้องถิ่น) จ านวน 9 มาตรา และบทบัญญัติในหมวดอนๆ อก
5 มาตรา ดังนี้
1.1 บทบัญญัติใน “หมวดที่ 9 กำรปกครองส่วนท้องถิ่น” 9 มาตรา ได้แก่
มำตรำ 282 (รัฐต้องให้ความเป็นอิสระแก่ท้องถิ่นตามสมควร ภายใต้มาตรา 1 ของ
รัฐธรรมนูญ) มำตรำ 283 (ท้องถิ่นที่มีลักษณะปกครองตนเองได้ย่อมมีสิทธิได้รับการจัดตั้งองค์กรปกครอง
ี
ิ
ส่วนท้องถิ่นฯ) มำตรำ 284 (ให้อำนำจองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมอสระในกำรดูแลและจัดท ำบริกำร
สำธำรณะ รวมทั้งนโยบำยกำรบริหำรบุคคล กำรเงินและกำรคลังฯ และก ำหนดอำนำจหน้ำที่ กำรจัดสรร
ภำษีอำกร โดยค ำนึงถึง “กำรกระจำยอ ำนำจที่เพิ่มขึ้นให้แก่ท้องถิ่นเป็นส ำคัญ”) มำตรำ 285 (ก าหนดให้มี
สภาท้องถิ่นและคณะผู้บริหารท้องถิ่น โดยการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชนในท้องถิ่น มีวาระ 4 ปี) มำตรำ
286 (หากราษฎรผู้มีสิทธิเลือกตั้งในท้องถิ่นไม่น้อยกว่าสามในสี่เข้าชื่อถอดถอนสมาชิกสภาท้องถิ่น ในสมาชิก
้
ผู้นั้นพนจากการด ารงต าแหน่ง) มำตรำ 287 (ราษฎรผู้มีสิทธิเลือกตั้งไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งสามารถเสนอให้สภา
ท้องถิ่นออกข้อบัญญัติท้องถิ่นได้) มำตรำ 288 การแต่งตั้งถอดถอนพนักงาน ลูกจ้างฯ ต้องเป็นไปตามความ
ต้องการและเห็นชอบจากคณะกรรมการท้องถิ่น ซึ่งส่วนหนึ่งประกอบด้วยผู้แทนส่วนราชการ) มำตรำ 289
(ก าหนดหน้าที่บ ารุงรักษาศิลปะ วัฒนธรรมของท้องถิ่น) และมำตรำ 290 ก าหนดอ านาจหน้าที่ในการส่งเสริม
รักษาสิ่งแวดล้อม
1.2 บทบัญญัติในหมวดอื่นๆ
1.2.1 บทบัญญัติใน “หมวดที่ 3 สิทธิเสรีภำพของปวงชนชำวไทย” จ านวน 3
มาตรา ได้แก่ มำตรำที่ 43 (สิทธิเสมอกันในการรับการศึกษาขั้นพนฐาน) มำตรำที่ 52 (สิทธิเสมอกันในการ
ื้
รับบริการทางสาธารณสุขที่ได้มาตรฐาน) มำตรำที่ 64 (สิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญของเจ้าหน้าที่รัฐย่อม
มีเช่นเดียวกันกับบุคคลทั่วไป)
1.2.2 บทบัญญัติใน “หมวดที่ 5 แนวนโยบำยพื้นฐำนแห่งรัฐ” จ ำนวน 1
มำตรำ คือ มาตราที่ 78 (รัฐต้องกระจายอานาจให้ท้องถิ่นพึงตนเองและตัดสินใจในกิจการท้องถิ่นได้เอง) และ
250