Page 302 - thaipaat_Stou_2563
P. 302
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
ความส าคัญและมีคุณค่า ซึ่งสามารถปฏิบัติงานได้เสร็จสมบูรณ์ 5. ความรับผิดชอบโดยมีความอิสระในการปฏิบัติงาน
ึ
สามารถจัดล าดับความส าคัญและงานที่ท าได้เอง และปัจจัยค้ ำจุนซึ่งเป็นปัจจัยที่ป้องกันความไม่พงพอใจในการ
ท างานซึ่งประกอบไปด้วย 1. นโยบายและการบริหารขององค์การ การเปิดโอกาสของผู้บังคับบัญชาให้ผู้ปฏิบัติงานมี
ั
ส่วนร่วมในการก าหนดนโยบายและมีความเหมาะสม 2. การบังคับบัญชาและการควบคุมดูแล 3. ความสัมพนธ์
ระหว่างบุคคล 4. ต าแหน่งงาน การได้มีทักษะที่เพมมากขนในต าแหน่งวิชาชีพของตนเอง 5. ความมั่งคงในการ
ิ่
ึ้
ท างาน 6. ชีวิตส่วนตัว มีความสมบูรณ์ทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา และจะต้องอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดี มีครอบครัว
และสังคมที่ดี เนื่องมาจากการปฏิบัติงาน 7. สภาพการท างาน มีสภาพแวดล้อม ความสะดวกสบายของที่ท างาน
ตลอดจนเครื่องมือในการปฏิบัติงานที่ดี และ 8. ค่าตอบแทนที่ดี ซึ่งจากการทบทวนวรรณกรรมและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
ข้างต้นจะเห็นได้ว่าปัจจัยที่ส่งผลให้เกิดการย้ายงานของข้าราชการฝ่ายปกครอง ส านักงานเขตปทุมวัน ก็ย่อมเกิดจาก
แรงสองแรงตามทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงของ เคิร์ท เลวิน (Kurt Lewin) คือ แรงขับเคลื่อนและแรงต่อต้าน และทฤษฎี
สองปัจจัยของเฟรเดอริก เฮอร์ซเบอร์ก (Ferderick Herzberg) ก็ได้อธิบายถึงปัจจัยในระดับบุคคลที่มีผลต่อการ
ท างานของบุคลากรในองค์การที่ท าให้เกิดความพอใจหรือไม่พอใจในการท างานกับองค์การ ดังนั้นเพอศึกษาปัจจัยที่
ื่
เป็นแรงขับเคลื่อนและแรงต่อต้านที่ส่งผลให้เกิดการย้ายงานของข้าราชการฝ่ายปกครอง ส านักงานเขตปทุมวัน ใน
ระดับบุคคลผู้วิจัยจึงได้มีความสนใจที่จะน าปัจจัยตามทฤษฎีสองปัจจัยมาศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจในการ
ย้ายงานของข้าราชการฝ่ายปกครอง ส านักงานเขตปทุมวัน ในช่วงเวลาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2559 – 2562 ซึ่งผลการศึกษา
ที่ได้นอกจากจะท าให้ทราบถึงทฤษฎีสองปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจในการย้ายงานของข้าราชการฝ่ายปกครอง
ส านักงานเขตปทุมวัน แล้วยังจะท าให้เกิดความรู้ความเข้าใจในการประยุกต์ใช้แนวคิดตามทฤษฎีสองปัจจัย
ิ่
(Two-FactorTheory) ซึ่งเป็นทฤษฎีส าคัญในการจูงใจทรัพยากรมนุษย์ ในบริบทขององค์การในประเทศไทยได้เพม
มากขึ้นตลอดจนสามารถน าไปเป็นข้อมูลเพื่อเสนอแนะแนวทางในการป้องกนและแกไขปัญหาการย้ายงานของ
้
ั
ื่
ข้าราชการ ฝ่ายปกครอง ส านักงานเขตปทุมวันและเพอเป็นแนวทางในการท าความเข้าใจถึงปัจจัยและมูลเหตุ
แรงจูงใจในการสูญเสียอัตราก าลังของฝ่ายปกครอง ส านักงานเขตต่างๆในสังกัดกรุงเทพมหานครต่อไป โดยมี
วัตถุประสงค์ของกำรวิจัย
ื่
1. เพอศึกษาทฤษฎีสองปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจในการย้ายงานของข้าราชการฝ่ายปกครอง
ส านักงานเขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร
ื่
2. เพอเสนอแนะแนวทางในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการย้ายงานของข้าราชการฝ่ายปกครอง
ส านักงานเขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร
300