Page 349 - thaipaat_Stou_2563
P. 349

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓



               ในการท างาน โดย Walton ได้ชี้ให้เห็นถึงปัจจัยเกี่ยวกับคุณภาพชีวิต ในการท างานว่า ประกอบไปด้วยเงื่อนไข 8
                                                                    ี
               ประการ ดังนี้ 1. การได้รับค่าตอบแทนในการท างานที่เพยงพอและยุติธรรม (Adequate and fair
                                                                                   ี
               compensation) คือ ค่าตอบแทนที่ได้รับจากการปฏิบัติงานนั้น จะต้องมีความเพยงพอในการด ารงชีวิตตาม
               มาตรฐานการครองชีพที่สมเหตุสมผลในสังคมนั้น ๆ สาหรับค่าตอบแทนที่มีความยุติธรรม ก็เกิดจากการ
               เปรียบเทียบค่าตอบแทนจากการท างานในต าแหน่งหน้าที่ และความรับผิดชอบที่คล้ายคลึงกัน หรือ
               เปรียบเทียบจากผลการปฏิบัติงานที่เท่าเทียมกัน 2. สภาพการท างานที่ค านึงถึงความปลอดภัยและส่งเสริม

               สุขภาพ (Safe and healthy working condition) ผู้ปฏิบัติงานไม่ควรอยู่ในสภาพแวดล้อมที่ไม่ดี ทั้งต่อ
               ร่างกายและการท างาน ควรจะมีข้อก าหนดในการท างานเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมสุขภาพ ซึ่งรวมถึงการ
               ควบคุม เกี่ยวกับเสียง การรบกวนทางสายตา 3. ความมั่นคงและความก้าวหน้าในงาน (Growth and
                                                                ิ่
               security) ควรให้ความสนใจการให้พนักงานได้รักษาหรือเพมความสามารถในการท างานมากกว่าที่จะคอยเป็น
                                                                                        ิ่
               ผู้น าให้เขาท าตาม จะต้องมีการมอบหมายงานใหม่ หรืองานที่ต้องใช้ความรู้และทักษะเพมขึ้น ต้องเปิดโอกาส
                                                                                ั
               ให้มีการพฒนาในสายงาน รวมถึงสมาชิกในครอบครัว 4. โอกาสในการพฒนาความสามารถของบุคคล
                        ั
               (Development of human capacities) คือ โอกาสในการพฒนาและการใช้ความสามารถในการปฏิบัติงาน
                                                                  ั
               ตามทักษะและความรู้ที่มี ซึ่งจะท าให้พนักงานรู้สึกถึงคุณค่าและความท้าทายในการท างาน สามารถท างาน
               เต็มที่ รวมทั้งการมีส่วนร่วมในการปฏิบัติงาน 5. การบูรณาการทางสังคม หรือการท างานร่วมกัน (Social
               integration) คือ ความรู้สึกถงคุณค่า ได้รับการยอมรับ และร่วมมอกันท างานจากกลุ่มเพอนร่วมงาน รู้สึกเป็น
                                        ึ
                                                                                        ื่
                                                                      ื
                                ื่
               ส่วนหนึ่งของกลุ่มเพอนร่วมงาน มีบรรยากาศในการท างานที่ดี ไม่แบ่งชนชั้นวรรณะในหน่วยงาน ปราศจาก
               อคติและการท าลายซึ่งกันและกัน 6. ประชาธิปไตยในองค์การ (Constitutionalism) คือ สิทธิในการปกป้อง
                                                                      ิ
               ตนเอง เคารพในสิทธิส่วนตัว การยอมรับในความขัดแย้งทางความคด รวมทั้งการให้ผลตอบแทนที่ยุติธรรม และ
               การจัดเตรียมงานให้อย่างเหมาะสมและสัมพนธ์กัน 7. ความสมดุลระหว่างงานกับชีวิตส่วนตัว (Total life
                                                      ั
               space) คือ จัดความสมดุลให้เกิดขึ้นในชีวิต โดยจัดสรรบทบาทให้สมดุล มีสัดส่วนที่เหมาะสมระหว่างการใช้เวลา
               ว่างของตนเองและครอบครัว รวมทั้ง ความก้าวหน้าในอาชีพ 8. ลักษณะงานที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม (Social

               relevance) คือ การมีความรู้สึกว่ากิจกรรมหรืองานเป็นประโยชน์และรับผิดชอบต่อสังคม รวมทั้ง องค์การได้
                                    ิ่
               ท าประโยชน์ให้สังคม เพมคุณค่าและความส าคัญของอาชีพ รู้สึกภูมิใจในองค์การ เช่น ความรู้สึกของพนักงาน
               ที่รับรู้ว่าหน่วยงานมีความรับผิดชอบต่อสังคม

                                                           ้
                       แนวคิดของ Hewitt Associates ( p.16 อางถึงใน นิตยา บ้านโก๋, 2558)  บริษัทที่ปรึกษาซึ่งมี
               มุมมองในเรื่องความผูกพนต่อองค์การว่า ความผูกพนของพนักงานเป็นสิ่งที่แสดงออกทางพฤติกรรม กล่าวคือ
                                                          ั
                                    ั
               สามารถดูได้จากการพูดถึงองค์การเฉพาะในแง่บวกพูด (Say) จากการด ารงอยู่ (Stay) โดยพนักงานปรารถนาที่
                                                                                                  ื่
               จะเป็นสมาชิกขององค์การต่อไป และพนักงานใช้ความพยายามอย่างเต็มความสามารถ (Strive) เพอองค์การ
                                                    ั
               และได้สรุปปัจจัยที่มีอทธิพลต่อความผูกพนของพนักงานมี 6 ประการ ดังนี้ 1. แนวปฏิบัติขององค์การ
                                   ิ
               (Company Practices) หมายถึง สิ่งที่องค์การ เป็นอยู่หรือคาดหวังที่จะเป็น เช่น ค่านิยมองค์การ ปรัชญา
               ภาพลักษณ์ขององค์การ รวมถึงจุดมุ่งหมายหรือเป้าหมายขององค์การ 2. ลักษณะงาน (Work) หมายถึง หน้าที่
               ความรับผิดชอบ หรือลักษณะงานที่พนักงานได้รับมอบหมายจากองค์การ 3. สิ่งตอบแทนโดยรวม (Total

               Rewards) หมายถึง สิ่งที่พนักงานได้รับจากองค์การเพอเป็นการตอบแทนจากการปฏิบัติงานทั้งที่เป็นตัวเงิน
                                                             ื่
               และไม่ใช่ตัวเงิน เช่น เงินเดือนสวัสดิการ โบนัส การได้รับการยอมรับ เป็นต้น 4. คุณภาพชีวิต (Quality of
               Life) หมายถึง ความรู้สึกพึงพอใจในสิ่งต่างๆ ที่พนักงานสามารถรับรู้ได้ในชีวิตการทางานของแต่ละคน และ 5.
               โอกาสที่ได้รับ (Opportunity) หมายถึง โอกาสในการเจริญก้าวหน้าภายในองค์การ รวมถึงโอกาสในการ

               พัฒนาความรู้ความสามารถของตนเอง ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อพนักงาน

                                                                                                     347
   344   345   346   347   348   349   350   351   352   353   354