Page 353 - thaipaat_Stou_2563
P. 353

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓



                       เมื่อพจารณาค่าสัมประสิทธิ์ความถดถอย (Beta) พบว่าด้านลักษณะงานที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม (Beta
                           ิ
               =0.341) ด้านความสมดุลระหว่างงานกับชีวิตส่วนตัว (Beta =0.275) และด้านความมั่นคงและความก้าวหน้า

                                                   ิ
                                                                        ั
               ในงาน (Beta =0.203) ในทิศทางบวกมีอทธิพลส่งผลต่อความผูกพนต่อองค์การ อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่
               ระดับ 0.05 ส่วนระดับคุณภาพชีวิตในการท างาน ด้านการได้รับค่าตอบแทนที่เพยงพอและยุติธรรม(Beta = -
                                                                                  ี
               0.006) ด้านสภาพการท างานที่ค านึงถึงความปลอดภัยและส่งเสริมสุขภาพ (Beta = -0.018) ด้านโอกาสใน
               การพฒนาความสามารถของบุคคล (Beta =- 0.102) ด้านการบูรณาการทางสังคม (Beta = 0.077) และ
                    ั
                                                                                 ั
               ด้านประชาธิปไตยในองค์การ (Beta =0.043)  ไม่มีอทธิพลส่งผลต่อความผูกพนต่อองค์การ อย่างมีนัยส าคัญ
                                                            ิ
               ทางสถิติ
               อภิปรำยผล
                       จากผลวิจัยพบว่า บุคลากรส านักงานปลัดกระทรวงยุติธรรมที่มีปัจจัยส่วนบุคลได้แก่ เพศ สถานภาพ

               สมรส ระดับการศึกษา อายุงาน และรายได้ต่อเดือน ต่างกันมีระดับความผูกพนต่อองค์การไม่แตกต่างกัน แต่มี
                                                                               ั
               ปัจจัยส่วนบุคคลได้แก่ อายุ และประเภทบุคลากร ที่ต่างกันจะมีระดับความผูกพนต่อองค์การต่างกัน ซึ่ง
                                                                                     ั
               บุคลากรส านักงานปลัดกระทรวงยุติธรรมที่มีอายุ 30 ปีหรือน้อยกว่า มีระดับความผูกพันต่อองค์การ น้อยกว่า
               กลุ่มอายุ 51 ปีขึ้นไป กลุ่มอายุ 31-40 ปี มีระดับความผูกพนต่อองค์การ น้อยกว่ากลุ่มอายุ 41-50 ปี และ
                                                                  ั
               น้อยกว่ากลุ่มอายุ 51 ปีขึ้นไป เห็นได้ว่า บุคลากรที่อยู่ในกลุ่มอายุมากจะมีความผูกพนต่อองค์การมากกว่า
                                                                                       ั
               บุคลากรที่อยู่ในกลุ่มอายุน้อย เรื่องของอายุเกี่ยวข้องกับประสบการณ์ในการท างานผู้ที่มีอายุมากมักจะมี
               ประสบการณ์ในการท างานนานมีความช านาญ ความรอบรู้ในงานที่ท ามากขึ้น ท าให้ประสบการณ์เป็นสิ่งที่

                                                                              ิ่
               ประมาณค่าไม่ได้จ าเป็นต้องใช้เวลาในการสะสมประสบการณ์ และอายุที่เพมมากขึ้นก็จะมีผลต่อการตัดสินใจ
                                                                                  ั
                                                                                          ิ่
               ลาออกน้อยลง บุคลากรคิดที่จะลาออกจากงานน้อยลง และยิ่งอยู่นานความผูกพนก็ยิ่งมีเพมขึ้น ซึ่งสอดคล้อง
               กับแนวคิดของ ของ นุชจิรา ต๊ะสุ ( 2552 )ปัจจัยพนฐานส่วนบุคคลด้านอายุ ระยะเวลาในการรับราชการ
                                                           ื้
                     ั
               และอตราเงินเดือนมีความสัมพนธ์ในทิศทางเดียวกันกับความผูกพนต่อองค์การ ของบุคลากรในสังกัด
                                           ั
                                                                          ั
               ส านักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส าหรับประเภทบุคลากร
               ของส านักงานปลัดกระทรวงยุติธรรมกลุ่มข้าราชการ มีระดับความผูกพนต่อองค์การ น้อยกว่ากลุ่ม
                                                                                 ั
               ลูกจ้างประจ า กลุ่มลูกจ้างประจ า มีระดับความผูกพันต่อองค์การ มากกว่ากลุ่มลูกจ้างชั่วคราว แสดงว่ากลุ่มข้า
                            ั
               ราชมีความผูกพนต่อองค์การมากกว่ากลุ่มลูกจ้างชั่วคราว ซึ่งข้าราชการมีความมั่นคงกว่ากลุ่มลูกจ้างชั่วคราวที่
               ท าสัญญาจ้างปีต่อปี ส าหรับปัจจัยส่วนบุคคลด้านประเภทบุคลากร จะไม่สอดคล้องกับนุชจิรา ต๊ะสุ( 2552 )
               ปัจจัยพนฐานส่วนบุคคลด้านเพศ สถานภาพ ระดับการศึกษา และประเภทของบุคลากรไม่มีความสัมพนธ์กับ
                                                                                                    ั
                      ื้
               ความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรในสังกัดส านักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
                         ในส่วนผลการวิเคราะห์คุณภาพชีวิตการท างานของบุคลากร พบว่า ในภาพรวม มีระดับคุณภาพ

               ชีวิตการท างานในระดับมาก ในรายด้านพบว่ามี 3 ด้านที่ส่งผลต่อความผูกพันต่อองค์การ ได้แก่ ด้านลักษณะงาน
               ที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม ด้านความสมดุลระหว่างงานกับชีวิตส่วนตัว และด้านความมั่นคงและความก้าวหน้าใน
               งาน ส านักงานปลัด กระทรวงยุติธรรมเป็นหน่วยงานที่ให้ความช่วยเหลือประชาชนในกระบวนการยุติธรรม ให้
               ความช่วยเหลือสังคม และประชาชนที่ไม่ได้รับความเป็นธรรมในคดีความ ให้สามารถเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม

               รวมทั้งการมีจิตอาสาเพอช่วยเหลือสังคมและสร้างสังคมให้น่าอยู่ การมีวินัยในตนเอง การพัฒนาคุณธรรมเพอเป็น
                                                                                                     ื่
                                  ื่
                                                                                   ื่
                                                                            ุ
                                                                                                     ั
               รากฐานในการด ารงชีวิตอย่างมีความสุข การจัดโครงการโรงเรียนยุติธรรมอปถัมภ์เพอปลูกฝังความรู้และพฒนา
               คุณธรรมให้แก่เยาวชน พร้อมทั้งปลุกจิตส านึกและกระตุ้นแนวคิด   ในการรับรู้สิ่งที่ถูกต้อง ให้มีความ
               รับผิดชอบต่อสังคม มีจิตสาธารณะ สร้างการเรียนรู้ร่วมกัน ผ่านการแลกเปลี่ยนทัศนคต ความคิด และการใช้
                                                                                        ิ
               ชีวิตในสังคม และสามารถน าความรู้เหล่านั้นมาพฒนาสังคมได้ เน้นการปลูกฝังความรู้ทางกฎหมาย ผ่านกิจกรรม
                                                       ั
                                                                                                     351
   348   349   350   351   352   353   354   355   356   357   358