Page 351 - thaipaat_Stou_2563
P. 351

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓



                       ส่วนที่ 3 เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับระดับความผูกพนต่อองค์การของบุคลากรในส านักงาน
                                                                      ั
               ปลัดกระทรวงยุติธรรม เป็นค าถามแบบปลายปิด(Closed- Ended questions)  ตามกรอบแนวคิดใน 3 ด้าน

               รวมจ านวน 7 ข้อ
                                                                               ิ่
                         ส่วนที่ 4 เป็นค าถามเกี่ยวกับความคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพมเติม เกี่ยวกับคุณภาพชีวิตการ
               ท างานและความผูกพันต่อองค์การ จ านวน 2 ข้อ ซึ่งเป็นแบบสอบถามมีลักษณะเป็นค าถามปลายเปิด(Open-
               Ended questions)

                         โดยค าถามในส่วนที่ 2 และ 3 ใช้มาตราส่วนประมาณค่า(Rating scale)ตามแบบของ Likert
               Scale มีทางเลือกตอบแบ่งเป็น 4 ระดับ โดยมีหลักเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้ (Tim May,2001)
                          ระดับ 4 หมายถึง เห็นด้วยมากที่สุด
                          ระดับ 3 หมายถึง เห็นด้วยมาก

                          ระดับ 2 หมายถึง เห็นด้วยน้อย
                          ระดับ 1 หมายถึง เห็นด้วยน้อยที่สุด
               สถิติที่ใช้ในกำรวเครำะห์ข้อมลและทดสอบสมมติฐำน ผู้วิจัยวิเคราะห์สถิติด้วยค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วน
                              ิ
                                         ู
               เบี่ยงเบนมาตรฐาน ท าการเปรียบเทียบโดยการทดสอบค่า t-test, F-test  และทดสอบการส่งผลของตัวแปร
               อิสระต่อตัวแปรตามด้วย Multiple Regression Analysis
               สรุปผลกำรวิจัย
                         จากผู้ตอบแบบสอบถามจ านวน 234 คน วิเคราะห์ข้อมูลได้ผลสรุปดังนี้ ผู้ตอบแบบสอบถามส่วน

               ใหญ่เป็นเพศหญิงจ านวน 169 คน คิดเป็น ร้อยละ 72.2  ส่วนใหญ่มีอายุ 31 - 40 ปี จ านวน 84 คน คิดเป็น
               ร้อยละ 35.9  มีสภาพการสมรส โสด จ านวน 154 คน คิดเป็นร้อยละ 65.8 ส่วนใหญ่  มีระดับการศึกษาใน
               ระดับปริญญาตรี จ านวน 148 คน คิดเป็นร้อยละ 63.2 ส่วนใหญ่มีอายุงาน 5 ปี หรือน้อยกว่า จ านวน 102
               คน คิดเป็นร้อยละ 43.6 ส่วนใหญ่มีรายได้ต่อเดือน 10,001 – 30,000 บาท จ านวน 190 คน คิดเป็นร้อย
               ละ 81.2  และส่วนใหญ่เป็นบุคลากรประเภทข้าราชการ จ านวน 124 คน คิดเป็นร้อยละ 53.0 ปัจจัยส่วน

               บุคคลในเรื่องอายุ และประเภทบุคลากรมีผลต่อความผูกพน บุคลากรที่มีอายุน้อยมีความผูกพนต่อองค์การ
                                                                                              ั
                                                                 ั
                                                                                         ั
               น้อยกว่าบุคลากรที่มีอายุมาก  บุคลากรที่เป็นข้าราชการ และลูกจ้างประจ า มีความผูกพนมากกว่า พนักงาน
               ราชการ ลูกจ้างชั่วคราว ส่วนปัจจัยคุณภาพชีวิตการท างาน ด้านลักษณะงานที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม ด้าน
               ความสมดุลระหว่างงานกับชีวิตส่วนตัว และด้านความมั่นคงและความก้าวหน้าในงาน มีอทธิพลส่งผลต่อความ
                                                                                         ิ
               ผูกพันต่อองค์การ
               คุณภำพชีวิตกำรท ำงำน
                       คุณภาพชีวิตการท างาน 8 ด้าน ได้แก่ การได้รับค่าตอบแทนที่เพยงพอและยุติธรรมสภาพการท างาน
                                                                            ี
                                                                                                     ั
               ที่ค านึงถึงความปลอดภัยและส่งเสริมสุขภาพ  ความมั่นคงและความก้าวหน้าในงานโอกาสในการพฒนา
               ความสามารถของบุคคล การบูรณาการทางสังคม ประชาธิปไตยในองค์การ ความสมดุลระหว่างงานกับชีวิต
               ส่วนตัว และลักษณะงานที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าเฉลี่ยเลขคณิต และส่วนเบี่ยงเบน
               มาตรฐาน ผลการวิเคราะห์แสดงให้เห็นว่าระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตการท างานในภาพรวม อยู่ใน

               ระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.76 และมีค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.48 เมื่อพจารณาเป็นรายด้าน
                                                                                         ิ
               ของคุณภาพชีวิตการท างาน พบว่าด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุดคือด้านการบูรณาการทางสังคม (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ
               3.29 ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.59) รองลงมาได้แก่ด้านลักษณะงานที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม
               (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.09 ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.63) และด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยสุดคือด้านการได้รับ

               ค่าตอบแทนที่เพียงพอและยุติธรรม (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.16 ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.71)

                                                                                                     349
   346   347   348   349   350   351   352   353   354   355   356