Page 350 - thaipaat_Stou_2563
P. 350

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓



               กรอบแนวคิดในกำรวิจัย
                         ในการศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรส านักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม


               ได้น าแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องมากาหนดเป็นกรอบแนวคิดที่ใช้ในการวิจัยดังภาพที่ 1


                    ตัวแปรอิสระ (Independent Variables)                    ตัวแปรตำม (Dependent Variable)


               ปัจจัยส่วนบุคคล
                                                                          ควำมผูกพันต่อองค์กำร
               1. เพศ                5. อายุงาน

               2. อายุ               6. รายได้ต่อเดือน                    1. การพูดถึงองค์การในแง่ดี

               3. สถานภาพสมรส        7. ประเภทบุคลากร                         (SAY)

                 4. ระดับการศึกษา                                         2. ความปรารถนาอย่างแรงกล้าที่จะ
                                                                          ยังคงเป็นสมาชิกขององค์การ
                 คุณภำพชีวิตกำรท ำงำน                                         (STAY)

                 1. การได้รับค่าตอบแทนที่เพียงพอและยุติธรรม               3. ความมุ่งมั่นเต็มใจที่จะพัฒนา
                                                                              สร้างสิ่งดีๆ ให้กับองค์การ
                2. สภาพการท างานที่ค านึงถึงความปลอดภัย
               ระเบียบวิธีวิจัย                                               (STRIVE)

                     และส่งเสริมสุขภาพ
                 3. ความมั่นคงและความก้าวหน้าในงาน                         (ที่มา Hewitt Associates,2003)
                4. โอกาสในการพัฒนาความสามารถของบุคคล
               ภำพที่ 1: กรอบแนวคิดการวิจัย
                5. การบูรณาการทางสังคม

                6. ประชาธิปไตยในองค์การ
                7. ความสมดุลระหว่างงานกับชีวิตส่วนตัว
                 8. ลักษณะงานที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม
                 (ที่มา Richard E. Walton,1973)

               สมมติฐำนกำรวิจัย ผู้วิจัยได้ก าหนดสมมติฐานการวิจัย 2 ข้อ ได้แก  ่
                   1.  ปัจจัยส่วนบุคคลที่ต่างกัน ได้แก่ เพศ อายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา อายุงาน รายได้ต่อเดือน
                       ประเภทบุคลากร ที่ต่างกันมีระดับความผูกพันต่อองค์การแตกต่างกัน
                   2.  คุณภาพชีวิตการท างานส่งผลต่อความผูกพันต่อองค์การ

               ประชำกร ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือบุคลากรของส านักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม จ านวน 621 คน (ข้อมูล ณ
               วันที่ 10 กันยายน 2562)   ผู้วิจัยก าหนดขนาดตัวอย่างโดยใช้ตาราง Krejcie & Morganได้ตัวอย่าง 234 คน
               เครื่องมือที่ใช้ในกำรวิจัย คือ แบบสอบถามปลายปิด (Closed- Ended questions) แบ่งเป็น 3 ส่วน
                       ส่วนที่ 1 เป็นค าถามเกี่ยวกับคุณลักษณะส่วนบุคคลโดยทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ได้แก่ เพศ อายุ

               สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา อายุงาน รายได้ต่อเดือน และประเภทบุคลากร มีลักษณะเป็นแบบสอบถาม
               ประเภท (Check list) มีค าตอบให้เลือกและให้ผู้ตอบเลือกตอบเพียงค าตอบเดียว รวมจ านวน 7 ข้อ
                       ส่วนที่ 2 เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับระดับคุณภาพชีวิตการท างานของบุคลากรในส านักงาน
               ปลัดกระทรวงยุติธรรม เป็นค าถามแบบปลายปิด (Closed- Ended questions) ตามกรอบแนวคิดใน 8 ด้าน รวม

               จ านวน 18 ข้อ

                                                                                                     348
   345   346   347   348   349   350   351   352   353   354   355