Page 352 - thaipaat_Stou_2563
P. 352
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
ควำมผูกพันต่อองค์กำร
ความผูกพนต่อองค์การจ าแนกเป็น 3 ด้าน ได้แก่ พดถึงองค์การในแง่ดี ความปรารถนาอย่างแรงกล้า
ั
ู
ที่จะยังคงความเป็นสมาชิกขององค์การ ด้านความมุ่งมั่นเต็มใจที่จะพัฒนาสร้างสิ่งดีๆ ให้กับองค์การ วิเคราะห์
ข้อมูลด้วยค่าเฉลี่ยเลขคณิต และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิเคราะห์พบว่าระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับ
ั
ความผูกพนต่อองค์การในภาพรวมอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.19 และมีค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
เท่ากับ 0.51 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านของความผูกพันต่อองค์การ พบว่าด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด ได้แก่ ด้าน
ความมุ่งมั่นเต็มใจที่จะพฒนาสร้างสิ่งดีๆ ให้กับองค์การ อยู่ในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.47 ค่าส่วน
ั
ู
เบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.54) รองลงมาคือ ด้านพดถึงองค์การในแง่ดี อยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ
3.18 ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.66) และด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด ได้แก่ ด้านความปรารถนาอย่าง
แรงกล้าที่จะยังคงความเป็นสมาชิกขององค์การ อยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.80 ค่าส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐานเท่ากับ 0.71)
ผลกำรทดสอบสมมติฐำน
สมมติฐำนที่ 1: บุคลากรส านักงานปลัดกระทรวงยุติธรรมที่มีปัจจัยส่วนบุคคลต่างกันมีระดับความ
ผูกพันต่อองค์การแตกต่างกัน
สรุปผลการทดสอบสมมติฐานพบว่าบุคลากรส านักงานปลัดกระทรวงยุติธรรมที่มีเพศ สถานภาพสมรส
ั
ระดับการศึกษา อายุงาน และรายได้ต่อเดือน ต่างกันมีระดับความผูกพนต่อองค์การไม่แตกต่างกัน ยกเว้นอายุ
ั
และประเภทบุคลากรต่างกันมีระดับความผูกพนต่อองค์การแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
จึงท าการทดสอบต่อเนื่องด้วยวิธีจับคู่พหุคูณ (Multiple Comparisons Test) ด้วยใช้วิธีของ Least
Significant Difference (LSD) ในเรื่องของอายุ ผลออกมาว่า กลุ่มอายุ 30 ปีหรือน้อยกว่า มีระดับความ
ั
ั
ผูกพนต่อองค์การ น้อยกว่ากลุ่มอายุ 51 ปีขึ้นไป กลุ่มอายุ 31-40 ปี มีระดับความผูกพนต่อองค์การ น้อย
ื่
กว่ากลุ่มอายุ 41-50 ปี และน้อยกว่ากลุ่มอายุ 51 ปีขึ้นไป ส่วนกลุ่มอายุคู่อนๆ ไม่แตกต่างกัน ในเรื่องของ
ประเภทบุคลากรพบว่ากลุ่มข้าราชการ มีระดับความผูกพนต่อองค์การ น้อยกว่ากลุ่มลูกจ้างประจ า กลุ่ม
ั
ั
ื่
ลูกจ้างประจ ามีระดับความผูกพนต่อองค์การ มากกว่ากลุ่มลูกจ้างชั่วคราว ส่วนกลุ่มประเภทบุคลากรคู่อนๆไม่
แตกต่างกัน
ั
สมมติฐำนที่ 2: คุณภาพชีวิตการท างานส่งผลต่อความผูกพนต่อองค์การของบุคลากรส านักงาน
ปลัดกระทรวงยุติธรรม
ี
ผลการทดสอบสมคุณภาพชีวิตในการท างาน (1.การได้รับค่าตอบแทนที่เพยงพอและยุติธรรม 2.
สภาพการ ท างานที่ค านึงถึงความปลอดภัยและส่งเสริมสุขภาพ 3.ความมั่นคงและความก้าวหน้าในงาน 4.โอกาส
ั
ในการพฒนาความ สามารถของบุคคล 5.การบูรณาการทางสังคม 6. ประชาธิปไตยในองค์การ 7.ความสมดุล
ระหว่างงานกับชีวิตส่วนตัว 8. ลักษณะงานที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม) ส่งผลต่อความผูกพันต่อองค์การของบุคลากร
ส านักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
ผลการวิเคราะห์สมการเชิงถดถอยพหุคูณ พบว่าผลลัพธ์ค่า Sig. เท่ากับ 0.000 เมื่อเปรียบเทียบกับระดับ
ิ
นัย ส าคัญทางสถิติที่ 0.05 (Sig มีค่าน้อยกว่า 0.05) แสดงว่ามีตัวแปรอสระอย่างน้อย 1 ตัว (ระดับคุณภาพ
ั
ชีวิตในการท างาน) ส่งผลต่อตัวแปรตาม คือมีอิทธิพลส่งผลต่อความผูกพนต่อองค์การ จากการวิเคราะห์พบว่า
ั
ค่าสัมประสิทธิ์การตัดสินใจ (R Square) มีค่าเท่ากบ 0.422 สามารถอธิบายได้ว่าตัวแปรอิสระ(ระดับคุณภาพ
ชีวิตในการท างาน) มีอทธิพลส่งผลต่อความผูกพนต่อองค์การ และสามารถอธิบายความผันแปรของตัวแปรได้
ิ
ั
ร้อยละ 42.20
350