Page 361 - thaipaat_Stou_2563
P. 361

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓



               นอกจากนี้พบว่ามีปัจจัยคุกคาม 5 ปัจจัย ที่เป็นปัจจัยกระตุ้นให้เกิดสภาวการณ์ดังกล่าว ได้แก่  (1) เทคโนโลยี
                                                    ื่
                                                       ิ่
               การเข้ามาของเทคโนโลยีที่ถูกคิดค้นขึ้นมาเพอเพมประสิทธิภาพในการท างาน (2) ความสะดวก ความพยายาม
                                                                              ื่
               ในการสร้างสรรค์สิ่งต่างๆ ด้วยเทคโนโลยี หรือนวัตกรรมที่ถูกคิดค้นมาเพอรองรับความสะดวกสบายของ
                                                                                  ั
               กลุ่มเป้าหมาย (3) ความรวดเร็ว การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วและมีอตราการเปลี่ยนแปลงแบบไม่
               เคยเกิดขึ้นมาก่อนด้วยการพัฒนาเทคโนโลยี (4) ข้อมูล สภาวะการเข้าถึงข้อมูลบนโลกออนไลน์ที่มีอยู่อย่างไม่
               จ ากัดในยุคปัจจุบันท าให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในพฤติกรรมของมนุษย์ และ (5) พฤติกรรมนอกกรอบของ

               มนุษย์ คือพฤติกรรมของมนุษย์ที่แตกต่างไปจากเดิมด้วยมุมมองและความคิดที่เปลี่ยนไป (พชราภรณ์
                                                                                                 ั
               ดวงชื่น, 2561)
                       จากสถานการณ์การเปลี่ยนแปลง พบว่าปัจจัยส าคัญที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงจนน าไปสู่การ
               เปลี่ยนแปลงอย่างพลิกพลันคือ Disruptive Technology โดย McKinsey Global Institute ได้ระบุประเภท

               ของเทคโนโลยี 12 ประเภท ที่ก่อให้เกิดสภาวะ Disruptive Change ดังนี้ (McKinsey Global
               Institute,2013) (1) Mobile internet ซึ่งเป็นเทคโนโลยีการเชื่อมต่อไร้สายด้วยความเร็วสูงราคาถูก (2)
               Automation of Knowledge Work ระบบซอฟต์แวร์อจฉริยะที่สามารถปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับความรู้ การ
                                                              ั
               สั่งการและการตัดสินใจ (3) Internet of Things อปกรณ์ที่สามารถตรวจวัดและสั่งการจากระยะไกล ใช้ใน
                                                          ุ
                                          ิ่
               การตัดสินใจและกระบวนการเพมประสิทธิภาพในการท างาน (4) Cloud Technology การใช้ฮาร์ดแวร์และ
                              ิ
                                                            ิ
               ซอฟต์แวร์คอมพวเตอร์ส่งข้อมูลผ่านเครือข่ายหรืออนเทอร์เน็ตมักเป็นบริการทีมีทั้งการเก็บข้อมูลและการ
               ค านวณ (5) Advanced Robotics หุ่นยนต์ที่มีความสามารถเพมขึ้นมีความช านาญและสติปัญญาที่ใช้ในการ
                                                                    ิ่
               ท างานอัตโนมัติได้ (6) Autonomous and near-autonomous vehicles ยานพาหนะทสามารถน าทางและ
                                                                                         ี่
               ใช้งาน ช่วยลดการสั่งการจากมนุษย์ (7) Next-generation genomics การวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่ขั้นสูง
               และชีววิทยาสังเคราะห์ ส่งผลให้การแพทย์มีการรักษาที่ประสิทธิภาพสูงขึ้น เช่น การยืดอายุขัยของมนุษย์ได้
               (8) Energy storage อุปกรณ์ หรือระบบที่เก็บพลังงานส าหรับใช้ในภายหลังรวมถึงแบตเตอรี่ (9) 3D Printing
                                  ์
               เทคโนโลยีเครื่องพมพ 3 มิติ (10) Advanced materials การผลิตวัสดุที่ออกแบบมาให้มีความเหนือชั้นใน
                               ิ
               ลักษณะต่างๆ เช่น ความแข็งแรงน้ าหนัก การน าไฟฟา เป็นต้น (11) Advanced Oil and Gas Exploration
                                                           ้
               and Recovery เทคโนโลยีที่ท าให้การขุดน้ ามันและก๊าซมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น และ (12) Renewable
               Electricity การผลิตกระแสไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน ที่ไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม































                                                                                                     359
   356   357   358   359   360   361   362   363   364   365   366