Page 57 - thaipaat_Stou_2563
P. 57
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
อาชีพ และสุขอนามัย ที่ดี นอกจากนี้ พรเทพ มนตร์วัชรินทร์ (2547) กล่าวว่าปรัชญาการศึกษาผู้สูงอายุ
หมายถึง แนวทางในการจัดการศึกษาที่ต้องการให้ผู้สูงอายุน าไปปรับปรุงคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น โดยให้เป็นผู้ที่มี
ื่
สุขภาพดี ได้อยู่ในสภาพแวดล้อมที่ดี มีศีลธรรม มีคุณธรรม เพอใช้ชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขและช่วย
ถ่ายทอดมรดกของแต่ละสังคมไปสู่อนุชนรุ่นหลังต่อไป สรุปได้ว่า ปรัชญาการศึกษาผู้สูงอายุ เป็นแนวทางใน
การจัดการศึกษาส าหรับผู้สูงอายุ ทุกเพศ ต้องจัดการศึกษาให้ตอบสนองความต้องการพื้นฐานของผู้สูงอายุ อัน
ั
ื่
ผสมกลมกลืนกับทฤษฎีต่างๆ ของผู้สูงอายุ อนเป็นการศึกษาอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต เพอช่วยพฒนา ชีวิต
ั
ผู้สูงอายุให้สามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
แนวคิดกำรจัดตั้งโรงเรียนผู้สูงอำยุ
ี
โรงเรียนผู้สูงอายุ เป็นการจัดการศึกษาอกรูปแบบหนึ่งที่ต้องการให้ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจใน
เรื่องที่มีความส าคัญต่อการด าเนินชีวิต เกิดจากแนวคิดที่ตระหนักถึงคุณค่า ความส าคัญและพลังของผู้สูงอายุ
ั
โดยการสร้างพื้นที่ส่งเสริมการเรียนรู้และพฒนาศักยภาพผู้สูงอายุ บนพื้นฐานการมีส่วนร่วมชุมชนท้องถิ่น และ
ภาคีเครือข่าย การเกิดขึ้นของโรงเรียนผู้สูงอายุยังสอดคล้องกับผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2545 -
2564) ฉบับปรับปรุง ครั้งที 1 (พ.ศ.2552) และพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ.2546 ข้อเสนอเชิงนโยบายใน
เวทีการประชุมสมัชชาผู้สูงอายุระดับชาติ ปี 2553 และ 2556 และแผนระดับชาติหลายฉบับที่ให้
ั
ความส าคัญกับการศึกษาเรียนรู้ตลอดชีวิต การพฒนาศักยภาพของบุคคลอย่างต่อเนื่อง การมีส่วนร่วมใน
กิจกรรมทางสังคม และการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์ (กรมกิจการผู้สูงอายุ, 2558)
โรงเรียนผู้สูงอำยุคืออะไร
ั
โรงเรียนผู้สูงอายุ เป็นรูปแบบหนึ่งในการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต การจัดการศึกษา การพฒนา
ั
ื่
ทักษะเพอพฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและกิจกรรมของโรงเรียนผู้สูงอายุจะเป็นที่ผู้สูงอายุสนใจและมี
ความส าคัญต่อการด าเนินชีวิต ช่วยเพิ่มพูนความรู้ ทักษะชีวิตที่จ าเป็น โดยวิทยากรจิตอาสาหรือจากหน่วยงาน
ที่เกี่ยวข้อง ขณะเดียวกันก็เป็นพื้นที่ที่ผู้สูงอายุจะได้แสดงศักยภาพ โดยการถ่ายทอดภูมิความรู้ประสบการณ์ ที่
สั่งสมมาแก่บุคคลอื่น เพื่อสืบสานภูมิปัญญาให้คงคุณค่าคู่กับชุมชน
โรงเรียนผู้สูงอายุ หลายแห่งตั้งขึ้นโดยใช้อาคารเรียนเก่าของโรงเรียนที่เลิกกิจการ หรือตั้งอยู่ในชมรม
ผู้สูงอายุ ภายในวัด บางแห่งใช้บ้านของผู้ริเริ่มก่อตั้งเป็นสถานที่ด าเนินการ การจัดตั้งโรงเรียนผู้สูงอายุใน
ี
ู
ระยะแรก อาจเป็นเพยงการรวมกลุ่ม พบปะพดคุยกัน แล้วจึงค่อย ๆ มีรูปแบบชัดเจนขึ้น มีกิจกรรมที่
หลากหลายตามความต้องการของผู้สูงอายุหรืออาจเป็นการขยายกิจกรรมจากที่มีการด าเนินการอยู่ เช่น
ศูนย์บริการทางสังคมแบบมีส่วนร่วม (ศาลาสร้างสุข) ศูนย์สามวัย ธนาคารความดี ศูนย์พฒนาอาชีพและ
ั
ส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ (ศพ.อส.) เป็นต้น โรงเรียนผู้สูงอายุสามารถมีรูปแบบและกิจกรรมที่หลากหลาย
ื้
ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับบริบทของพนที่ ความต้องการของผู้สูงอายุ การจัดกิจกรรมของโรงเรียนผู้สูงอายุ จะก าหนด
ตารางกิจกรรมในแต่ละสัปดาห์ไว้ชัดเจน ระยะเวลาเปิดเรียนอาจเป็นตลอดปี หรือเปิดเป็นช่วงเวลาตาม
หลักสูตรที่จัดอบรม ส่วนใหญ่จะจัดกิจกรรมสัปดาห์ละ 1 วัน วิทยากรมีทั้งบุคคลภายนอกที่เป็นผู้มีความรู้
ความสามารถและผู้สูงอายุในกลุ่มหรือนอกกลุ่มร่วมเป็นวิทยากร
กรอบแนวคิดโรงเรียนผู้สูงอำยุ
โรงเรียนผู้สูงอายุ ด าเนินการภายใต้แนวคิดการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ตลอดชีวิตของผู้สูงอายุที่มี
ั
ั
ื่
ศักยภาพ เพอให้ผู้สูงอายุได้เรียนรู้ พฒนาทักษะในการดูแลตนเอง ซึ่งจะน าไปสู่การพฒนาคุณภาพชีวิต
ผู้สูงอายุ โดยอยู่บนพนฐานแนวคิดที่ว่า “ผู้สูงอายุมีคุณค่าและมีศักยภาพ ควรได้รับการส่งเสริม สนับสนุนให้มี
ื้
ส่วนร่วมท าประโยชน์ให้สังคม และส่งเสริมการเรียนรู้ให้ผู้สูงอายุ โดยเชื่อมโยงกับประสบการณ์ของผู้สูงอายุ
ิ่
สาระการเรียนรู้จะต้องท าให้ผู้สูงอายุสามารถน าไปใช้ได้จริงในชีวิตปัจจุบัน เพมโอกาสในการรวมกลุ่มใน
55