Page 61 - thaipaat_Stou_2563
P. 61
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
ภูมิล าเนาอยู่ในเขตเทศบาลเมืองทุ่งสง มีความพร้อมทั้งกายและใจในการเข้าร่วมกิจกรรม ตลอดหลักสูตร
ก าหนดรุ่นละ 30 คน ท าการสอน 1 วันต่อสัปดาห์คือ ทุกวันอาทิตย์ จ านวน 4 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 2
เดือน โดยมี นายปลอบ ชูช่วย เป็นครูใหญ่ นายวัชรพล มีคล้าย เป็นผู้ช่วยครูใหญ่ และ ดร.สุดารัตน์ สุด
ี
สมบูรณ์ เป็นผู้ช่วยครูใหญ่ รับผิดชอบและวางแผนการด าเนินงานของศูนย์สร้างสุข นอกจากนี้ยังมีกรรมการอก
ื่
7 คนมาจากตัวแทนจากเทศบาลเมืองทุ่งสง วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้ และตัวแทนผู้สูงอายุ เพอร่วมกัน
ขับเคลื่อนการด าเนินงานของศูนย์แห่งนี้ นอกจากนี้การด าเนินงานตามหลักสูตรยังมีเครือข่ายที่ร่วมเป็น
วิทยากร ได้แก่ คณาจารย์จากวิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้ เจ้าหน้าที่ต ารวจจากสถานีต ารวจภูธรทุ่งสง
อนุศาสนาจารย์จากค่ายเทพสตรีศรีสุนทร เจ้าหน้าที่จากโรงพยาบาลทุ่งสง ผู้สูงอายุจากชมรมรักษ์สุขภาพ
ผู้สูงอายุในห้องเรียน รวมทั้งมีผู้สนับสนุนงบประมาณ สถานที่ วิทยากร ได้แก่ วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้
(SCT.) เทศบาลเมืองทุ่งสง สถานีต ารวจภูธรทุ่งสง ค่ายเทพสตรีศรีสุนทร โรงพยาบาลทุ่งสง ชมรมผู้สูงอายุ
โดยหลักสูตรสร้างเสริมสุขภาวะคนสูงวัย ประกอบไปด้วย 5 กิจกรรม ได้แก่ 1) กิจกรรมการดูแลสุขภาพ
ื่
ื่
ส าหรับผู้สูงอายุ 2) กิจกรรมสร้างอาชีพและรายได้ 3) กิจกรรมเพอนเยี่ยมเพอน 4)กิจกรรมภาษาและ
เทคโนโลยีสมัยใหม่ และ 5) กิจกรรมสร้างสุขให้ชีวิต ซึ่งกิจกรรมต่างๆ เหล่านี้มาจากการส ารวจความต้องการ
ื้
ื้
ของผู้สูงอายุในพนที่แล้วด าเนินการสร้างหลักสูตรบนพนฐานของความต้องการผู้สูงอายุอย่างแท้จริง (มลิวัลย์
รัตนพันธ์, 2560)
3) โรงเรียนผู้สูงอายุ วัดธาตุน้อย อาเภอช้างกลาง จังหวัดนครศรีธรรมราช เกิดจากแนวคิดของพระ
ราชพทธิรังสี เจ้าอาวาสวัดธาตุน้อย ที่ว่า ผู้สูงอายุมาวัดแล้วมีความสุข จึงเป็นจุดเริ่มต้นของโรงเรียนผู้สูงอายุ
ุ
ในวัด ซึ่งถือว่าเป็นโรงเรียนแห่งแรกในจังหวัดนครศรีธรรมราช ที่เกิดขึ้นจากแนวคิดของพระสงฆ์ หลักสูตร
ผู้สูงอายุของวัดธาตุน้อยให้ความส าคัญกับการภาวนาจิตและหลักพทธศาสนา เป็นส าคัญ แต่มีวิชาอื่นๆ ด้วยซึ่ง
ุ
มุ่งเน้นการปฏิบัติได้จริงและสามารถน าไปใช้ในชีวิตประจ าวัน รวมทั้งสามารถสร้างเป็นรายได้ เช่น การท า
ดอกไม้จันทน์ การจัดแจกันดอกไม้แห้งหรือดอกไม้สด การท ายาหม่อง การท าน้ ายาเอนกประสงค์ การนวด
เพอสุขภาพ โดยเฉพาะการนวดเพอสุขภาพนี้ ทางวัดให้ความส าคัญเป็นอย่างยิ่ง เพราะเห็นว่าสามารถท าให้
ื่
ื่
ตัวเองได้แล้ว ยังสามารถท าเป็นอาชีพได้ด้วย จึงก าหนดให้ผู้ที่เข้าร่วมหลักสูตรผู้สูงอายุแห่งนี้ ต้องเข้าอบรม
ื่
การนวดเพอสุขภาพไม่น้อยกว่า 180 ชั่วโมง เพอไปสอบรับใบประกาศนียบัตรจากกระทรวงสาธารณสุข
ื่
นอกจากนี้ผู้สูงอายุต้องเข้าร่วมสอบธรรมศกษา ถ้าสอบได้ก็จะได้ประกาศนียบัตร หลักสูตรที่นี้จัดการเรียนการ
ึ
สอน 3 วัน คือ จันทร์ พธ และศุกร์ ใช้เวลา 2.30 ชั่วโมง ก าหนดระยะเวลาต่อรุ่นคือ 6 เดือน จ านวน
ุ
ผู้สูงอายุต่อรุ่นคือ 25 คน โดยยึดหลักว่า “สอนอย่างไรที่ไม่ให้ผู้สูงอายุเครียด” กิจกรรมจะแบ่งเป็น 2 ช่วง
คือ ช่วงแรกจะเรียนเกี่ยวกับวิชาชีพ และช่วงสุดท้ายจะเรียนเกี่ยวกับพุทธศาสนาและเมื่อผู้สูงอายุผ่านการสอบ
ตามที่ก าหนดจะได้รับปริญญาชีวิต ด้านผู้สอนได้แก่ พระในวัดธาตุน้อยและวัดใกล้เคียง แพทย์แผนไทยจาก
โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชฉวาง คณะครูจากศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนและการศึกษาตามอชฌาศัย
ั
(กศน.) ด้านงบประมาณในการด าเนินงานมาจากวัดทั้งหมดซึ่งเป็นเงินบริจาคจากประชาชนที่มอบให้กับมูลนิธิ
่
ุ
พอท่านคล้าย วาจาสิทธิ์ ด้านสถานที่เรียนนั้นใช้ศาลาหอฉันภายในวัดเป็นแหล่งเรียนรู้ (พระราชพทธิรังสี,
2560)
ข้อเสนอแนะในกำรด ำเนินงำนโรงเรียนผู้สูงอำยุ
1) รูปแบบในกำรบริหำรโรงเรียนผู้สูงอำยุ
59