Page 27 - PAAT_Journal_V2-2019
P. 27
PAAT Journal Vol. 2, No. 2, December 2019
้
ิ
สาหรับไมเคล โทดาโร (Michael Todaro, 2000: 3-25) ไดกล่าวถึง “เศรษฐกิจ สถาบน และการ
ํ
ั
ั
ั
้
ื
พฒนา” ในภาพกวางหรอในระดบสากล (Economics, Institutions, and Development: A Global
็
ั
้
ี
่
่
ี
Perspective) โดยกล่าวไวในหนังสือ “Economic Development” ประเดนทนาสนใจ มดงน ี ้
ึ
้
่
์
็
ประเดนที 1: เศรษฐศาสตรและการศกษาวาดวยการพัฒนา (Economics and Development
่
Studies)
ั
็
ั
ิ
่
ไมเคล โทดาโร (Michael Todaro, 2000: 7)) กล่าวถึง อาดม สมิธ (Adam Smith,1776) วาเปนนก
่
้
เศรษฐศาสตร์การพัฒนาคนแรกๆ โดยอางถึงงานเขียนของอาดัม สมิธ เรือง “The Wealth of Nations”
็
ิ
ึ
่
์
ิ
ี
ั
่
ี
่
ิ
ึ
ซงตพมพใน ค.ศ.1776 วาเปนคัมภีร์เล่มแรกๆทางด้านการพฒนาเศรษฐกิจ ซงมอทธพลตอแนวคิดและผลงาน
่
่
้
ิ
ของนักวชาการในสาขานในเวลาตอมา
ี
ิ
ั
้
ิ
ั
่
้
ธรรมชาตของเศรษฐศาสตร์วาดวยการพฒนาในยุคดงเดม (Traditional Economics) จะให ้
ุ
่
้
ิ
่
ํ
ความสาคญเรืองของประสิทธภาพ การลดตนทนในการกระจายและจัดสรรทรัพยากรซึงมีอยูอย่างจํากัด และ
ั
่
่
้
ิ
ื
่
การเตบโตและใชประโยชน์สูงสุดจากสินค้าและบรการอยางไมมทีสินสุด สาหรบเศรษฐศาสตร์การเมอง
ิ
่
ั
้
ํ
ี
ั
ั
(Political Economy) ขยายขอบเขตออกไปไกลกวาเศรษฐกิจแบบดงเดม โดยเน้นไปยงการศึกษา
่
้
ิ
ํ
ั
่
ความสมพนธระหวางการเมองกบเศรษฐกิจ โดยเฉพาะอยางยงบทบาทของอานาจในการตดสินใจทีมีผลในเชิง
ั
ื
ั
่
่
์
่
ิ
ั
เศรษฐกิจ (Michael Todaro, 2000: 8)
่
ี
ั
้
่
่
่
่
่
เศรษฐศาสตร์วาดวยการพัฒนา ไมสามารถโดดเดยวหรือแยกตวออกจากคานิยม (Values) ไมวาจะ
ั
็
็
ศึกษาถง ความยากจน ความเปนธรรมในสังคม หรอ การจดการศึกษาใหเปนมาตรฐานสากล ล้วนมประเดน
ึ
้
็
ี
ื
ิ
ึ
ิ
้
ู
ื
ค่านยม หรือ คุณคาซงตดมาแตเดม (Value premises) ของผมบทบาทสําคัญในการกําหนดนโยบาย การเมอง
่
ิ
่
ี
่
่
่
และเศรษฐศาสตร์จะไมเหมือนฟิสิกส์และเคมี (Physics and Chemistry) ซึงมีกฎเกณฑ์ตายตัว ไม่มีค่านิยม
เข้ามาเกียวข้อง (Value-free)
่
่
ิ
้
ประเด็นที 2: เศรษฐกจในสถานะเป็นระบบสงคม: ความจําเป็นทตองมองไปใหไกลกวา
่
ั
้
่
ี
์
เศรษฐศาสตร (Economies as Social Systems: The Need to Go Beyond Simple Economics)
ิ
้
ในประเทศโลกทสาม (Third World) ซงยงไมไดรบการพฒนาเศรษฐกจถึงเกณฑทกําหนดไว โดยท ี ่
ึ
่
์
่
ี
ี
่
้
ั
่
ั
ั
่
ระบบเศรษฐกจของประเทศในกลุมนี้ ถูกนํามาวิเคราะห์ผ่านระบบของสังคมในประเทศนันๆ (overall social
้
ิ
่
ั
่
ี
้
่
ั
ึ
ิ
่
้
system) ซงในระบบสังคมองค์รวมประกอบไปดวยปัจจยทางเศรษฐกจและปัจจยทไมไดเกียวข้องกับทาง
ี
่
ิ
ิ
ั
ิ
เศรษฐกจ (economic and noneconomic variables) โดยทตวแปรทีมใชปจจยเชงเศรษฐกจ จะครอบคลุม
่
ั
ิ
่
ั
ี
่
้
ิ
็
ไปถึงประเดนเกียวกับทศนคตของผูคนทีมตอประเดนตางๆ ไดแก่ ชวต (life) งาน (work) อานาจ (authority)
ั
่
ํ
่
็
้
ิ
ี
่
ระบบการบริหารงานของภาครัฐและเอกชน (public and private bureaucratic) กฎหมาย (legal)
้
็
ื
โครงสรางการบริหารงาน (administrative structures) แบบแผนความเปนเครอญาตและศาสนา (patterns
ิ
ี
of kinship and religion) ขนบประเพณวฒนธรรม (cultural traditions) ระบบและการถือครองทดน
ี
ิ
่
ั
ี
่
ํ
(systems of land tenure) อานาจหน้าทีและความมคุณธรรมของหน่วยงานภาครัฐ (the authority and
่
19 สมาคมรัฐประศาสนศาสตร์แหงประเทศไทย