Page 132 - thaipaat_Stou_2563
P. 132

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓



               เชื่อมโยงข้อมูลของภาครัฐและภาคเอกชนเข้าด้วยกัน โดยมีภาคประชาชนเป็นผู้ให้ข้อมูล เนื่องจากการส่งเสริม
               ความรับผิดชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจส่วนใหญ่เป็นการช่วยเหลือโดยการบริจาคเงิน หรือสิ่งของในพื้นที่เดิมๆ

               รวมถึงการด าเนินกิจกรรม CSR อื่นๆ การด าเนินงานของโครงการนี้จึงเป็นเหมือนการเชื่อมโยงระหว่างผู้ให้กับ
               ผู้รับที่ไม่สูญเปล่า อย่างน้อยจึงเป็นการท า CSR ที่เกิดผลดีกับประชาชนในพื้นที่ เป็นความร่วมมือกันหลายภาค
                                                              ื้
               ส่วนเกิดเป็นเครือข่ายในการให้ข้อมูลของประชาชนในพนที่ และภาคเอกชนให้ความช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
               โดยมีภาครัฐเป็นผู้ประสานงาน จึงเป็นการบูรณาการร่วมกันในการแก้ไขปัญหาในจังหวัด

                       ส าหรับปัจจัยที่ส่งผลต่อการสร้างความร่วมมือของโครงการศูนย์ส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมของ
                                                                        ุ
                                                                                  ุ
               ภาคธุรกิจจังหวัดราชบุรี และจังหวัดน่านนั้น เกิดขึ้นจากปัจจัยด้านอปสงค์ และอปทาน ส าหรับปัจจัยด้านอุป
               สงค์ ได้แก่ การที่ภาครัฐโดยกระทรวงการพฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์มีนโยบาย และยุทธศาสตร์
                                                    ั
               การส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจ เกิดการผลักดันมาตรการส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคม
               ของภาคธุรกิจ ภายใต้กรอบความร่วมมือด้านสวัสดิการสังคมและพฒนาอาเซียน โดยให้องค์กรธุรกิจมุ่ง
                                                                          ั
               ประกอบธุรกิจโดยค านึงถึงการมีความรับผิดชอบต่อมิติด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม และมีการด าเนิน
                                                                         ั
               นโยบายและมาตรการสู่การปฏิบัติในระดับจังหวัด โดยส านักงานพฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
               จังหวัดเป็นผู้รับผิดชอบ และประสานงานโครงการ จากนโยบายและมาตรการดังกล่าวประกอบกับความ

               ต้องการของประชาชนในพนที่ คือ ความต้องการความช่วยเหลือ หรือขาดแคลนของประชาชนในพนที่ ทั้งเงิน
                                                                                                 ื้
                                      ื้
                 ุ
               อปกรณ์การเรียน บ้าน ถนนหนทางช ารุดเสียหาย เป็นต้น เนื่องจากหลายๆองค์กรภาคธุรกิจมีการท า CSR ใน
                                                                 ื้
               แต่ละพนที่ของจังหวัดแต่ไม่ตอบโจทย์ความต้องการของพนที่นั้นๆ  รวมถึงการท า CSR ซ้ าซ้อน เช่น การ
                      ื้
                                                                                      ั
               บริจาคสิ่งของต่างๆให้กับพนที่ขาดแคลน หลายครั้งที่ได้รับข้อมูลแต่เมื่อเดินทางไปถึงกบพบว่าข้อมูลที่ได้รับไม่
                                     ื้
               ตรงกับความเป็นจริง ชาวบ้านได้รับของบริจาคเต็มบ้าน เป็นต้น ดังนั้นโครงการนี้จึงเป็นส่วนเติมเต็มความ
                                      ื้
               ต้องการของประชาชนในพนที่ ซึ่งจะมีการชี้เป้าของกลุ่มเป้าหมายที่ต้องการความช่วยเหลือ โดยประชาชนใน
                 ื้
                                        ั
               พนที่เป็นผู้แจ้งแก่ส านักงานพฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดในการจัดท าข้อมูล ประกอบกับ
               ภาคเอกชนที่ประสงค์ท า CSR ในพื้นที่นั้นๆสามารถด าเนินงานด้าน CSR ได้ตรงกับกลุ่มเป้าหมาย
                       ส าหรับปัจจัยด้านอปทาน กล่าวคือ รูปแบบความร่วมมือในแต่ละพนที่ ในส่วนของจังหวัดราชบุรี มี
                                       ุ
                                                                               ื้
               การลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ระหว่างศูนย์ส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR) จังหวัด
               ราชบุรี กับสถานประกอบการ หน่วยงาน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ขณะที่จังหวัดน่านเป็นรูปแบบความ

               ร่วมมือแบบไม่เป็นทางการ เนื่องจากวัฒนธรรมองค์กรของจังหวัดเป็นจังหวัดเล็กคุยกันง่ายๆตามบริบทของ
               พนที่ มีการถ้อยทีถ้อยอาศัย การขอความร่วมมือต่างๆเป็นไปด้วยความสมัครใจ และมีความสัมพนธ์อนดี
                 ื้
                                                                                                   ั
                                                                                                       ั
               ประกอบกับคณะท างานรู้จักกันหมดทุกคน และในส่วนของทรัพยากรของตัวแสดง กล่าวคือ การด าเนิน
               กิจกรรม CSR ของภาคเอกชน เป็นการด าเนินงานตามวิสัยน์ ภารกิจขององค์กร องค์กรใดมีความสนใจ และ
               ความถนัดในการท า CSR แบบใดจะด าเนินกิจกรรมแบบนั้น เข่น บริษัทก่อสร้าง จะด าเนินการสร้างถนน สร้าง
               ทางเข้าหมู่บ้าน เป็นต้น

                                                      เอกสำรอ้ำงอิง

               ratchaburi-travel. 15 สิงหาคม 2559. อบจ.ราชบุรี MOU ศูนย์ส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR).

                      สืบค้นเมื่อวันที่ 20 มกราคม 2563. http://www.ratchaburi-travel.go.th/e-newsletter/?p=3411
               Stephen Goldsmith  and William D. Eggers. (2004). Governing by Network: การบริหารงานภาครัฐ
                      แบบเครือข่าย : มิติใหม่ของภาครัฐ. แปลและเรียบเรียงโดย ดร.จักร ติงศภัทิย์ และกฤษฎา ปราโมทย์

                      ธนา. พิมพ์ครั้งที่ 1, กรุงเทพฯ: บริษัท เอ็กซเปอร์เน็ท จ ากัด.
                                                                                                     130
   127   128   129   130   131   132   133   134   135   136   137