Page 134 - thaipaat_Stou_2563
P. 134
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
ควำม (ไม่) โรแมนติกของ “ไฟ จำก ฟ้ำ” ปัญหำควำมไม่เป็นธรรมทำงสังคมเชิงนโยบำย:
กรณีศึกษำ กำรเข้ำไม่ถึงไฟฟ้ำในต ำบลหนองตำแต้ม จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
20
ทสิตา สุพัฒนรังสรรค์
บทคัดย่อ
บทความนี้ต้องการศึกษาปัญหาการเข้าไม่ถึงไฟฟา (electricity inaccessibility) ซึ่งเป็น
้
ื้
สาธารณูปโภคพนฐานที่ประชาชนพงได้ในฐานะ “สิทธิ” ของชาวบ้านในพนที่ต าบลหนองตาแต้ม จังหวัด
ึ
ื้
ประจวบคีรีขันธ์ โดยใช้แนวคิดเรื่องความเป็นธรรมทางสังคม (social equity) เพราะการถูกปฏิเสธไม่ให้เข้าถึง
ิ
พลังงานไฟฟ้านี้เป็นผลมาจากข้อพพาทเรื่องที่ดินระหว่างชุมชนกับศูนย์การทหารราบค่ายธนะรัชต์ กองทัพบก
ศูนย์การทหารราบให้เหตุผลที่น่าสนใจว่า หน่วยงานรัฐไม่จ าเป็นต้องให้บริการสาธารณูปโภคขั้นพนฐานแก่ผู้ที่
ื้
ึ
ท าผิดกฎหมายจากบุกรุกที่ดิน สถานะของคนในพื้นที่ได้ถูกลดจากการเป็นพลเมืองที่มีสิทธิพงได้รับบริการจาก
ภาครัฐมาสู่การเป็นผู้ที่ท าผิดกฎหมายที่ไม่สมควรเรียกร้องสิทธิและได้รับบริการสาธารณะ
ึ่
ื้
จากสถานการณ์และความจ าเป็นข้างต้นนี้กลุ่มชาวบ้านพนที่ได้ถูกผลักให้พงพาตนเองผ่านการใช้
พลังงานพลังงานแสงอาทิตย์ จนได้รับการยอมรับจากองค์กรระหว่างประเทศและได้กลายมาเป็นส่วนหนึ่งของ
แคมเปญ “ไฟ-จาก-ฟา” อย่างไรก็ตาม ประเด็นปัญหาการเข้าไม่ถึงสาธารณูปโภคนี้ “ถูกท าให้ไม่กลายเป็น
้
ึ่
ี
ปัญหา”ผ่านกระบวนการท าให้โรแมนติกน าเสนอภาพของการพงพาตนเองด้วยพลังงานทดแทน แต่ในอกทาง
หนึ่ง “ไฟ จาก ฟา” ก็อาจเป็นสิ่งที่สะท้อนถึงความไม่เสมอภาคทางสังคมทางนโยบายที่ซึ่งประชาชนกลายมา
้
เป็นผู้แบกภาระด้วยตนเอง
บทความชิ้นนี้จึงได้ใช้แนวคิด “ความเป็นธรรมทางสังคม” (social equity) ในการศึกษานโยบายว่า
ั
เพื่อเน้นย้ าถึงสิทธิและเสรีภาพอนล่วงละเมิดไม่ได้ (inalienable rights) ของประชาชนที่ต้องรับรู้ในตลอดช่วง
ื่
ของกระบวนการนโยบาย และเพอเน้นย้ าถึงที่มาความชอบธรรมของรัฐหรือเหตุผลในการมีอยู่ของรัฐตาม
ทฤษฎีสัญญาประชาคม
20 อาจารย์ประจ าแขนงการเมืองการปกครอง สาขาวิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช อีเมล: Thasita.sup@stou.ac.th
132