Page 136 - thaipaat_Stou_2563
P. 136

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓




               Keywords social equity, electricity accessibility, right, solar energy, new public administration
                                                          บทน ำ


                                          ้
                       การเข้าถึงพลังงานไฟฟา (access to electricity) ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางว่ามีความส าคัญ
               และจ าเป็นต่อการมาตรฐานขั้นต่ าของการด ารงชีวิตทางวัตถุนิยมที่ส่งผลโดยตรงต่อคุณภาพชีวิตของผู้คน
                                  ้
               กล่าวคือ พลังงานไฟฟาในที่นี้จึงไม่ใช่ “สิ่งฟมเฟอย” แต่เป็น “สิ่งจ าเป็น” เพราะความเป็นอยู่ในโลกสมัยใหม่
                                                       ื
                                                    ุ่
               นั้นการเข้าถึงพลังงานไฟฟามีความส าคัญอย่างมากเพราะสามารถน าไปใช้ประโยชน์ได้หลากหลายกิจกรรม
                                      ้
               จากความส าคัญดังกล่าว องค์กรระหว่างประเทศและประเทศต่างๆ ได้ให้ความส าคัญกับการกระจายการเข้าถึง
                          ้
               พลังงานไฟฟาให้ทั่วถึงและเป็นธรรม มีการระบุให้การเข้าถึงไฟฟา คือ สิทธิพนฐานในการได้มาซึ่งมาตรฐาน
                                                                      ้
                                                                                ื้
               ของการด ารงชีวิต เช่น อังกฤษ บราซิล และแอฟริกา เป็นต้น (Tully, 2006, p. 31) และจากการส ารวจของ
               ส านักงานพลังงานสากล (International Energy Agency: IEA) พบว่า ใน ค.ศ. 2018 เป็นครั้งแรกที่จ านวน

               ผู้คนที่ไม่สามารถเข้าถึงพลังงานได้มีจ านวนต่ ากว่า 1 ล้านล้านคน เป็นผลมาจากการขยายตัวของการเข้าถึง

               พลังงานในเอเชียและแอฟริกา อกทั้งสถานการณ์การเข้าถึงไฟฟาของไทยจากข้อมูลของธนาคารโลกยังระบุว่า
                                                                    ้
                                          ี
               ไทยเป็นประเทศที่มีสัดส่วนอตราการเข้าถึงพลังงานไฟฟาเปรียบเทียบกับจ านวนประชากรโดยสมบูรณ์ตั้งแต่
                                                              ้
                                       ั
               ค.ศ. 2016 (World Bank, 2019)

                       อย่างไรก็ตาม ความส าคัญของไฟฟาในฐานะสิ่งจ าเป็นและสถานการณ์การเข้าถึงไฟฟาที่ดีขึ้นข้างต้น
                                                    ้
                                                                                             ้
               กลับ “ย้อนแย้ง” กับประสบการณ์ของชาวบ้านบ้านวังวน ต าบลหนองตาแต้ม จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ กว่า
               400 ครัวเรือน (NongtatamSAO, 2019) ที่ต้องใช้ชีวิตท่ามกลางความมืดมิดจากการ “ถูกปฏิเสธ” การ

                        ้
                                                          ิ
               เข้าถึงไฟฟามานานกว่า 60 ปี ด้วยสาเหตุเรื่องข้อพพาทในที่ดินระหว่างชุมชนกับศูนย์การทหารราบ ค่ายธนะ
               รัชต์ กองทัพบกที่ 2 ด้วยเหตุนี้แม้ว่าชาวบ้านในพนที่จะตระหนักถึงสิทธิของพวกตนในการได้มาซึ่งการบริการ
                                                        ื้
               ด้านสาธารณูปโภค สาธารณูปการ และได้เรียกร้องไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง คือ การไฟฟาส่วนภูมิภาคใน
                                                                                            ้
                                                                       ้
               พนที่เพอด าเนินการขยายเขตติดตั้งเสาพาดสายระบบจ าหน่ายไฟฟา แต่การด าเนินการดังกล่าวกลับถูกยับยั้ง
                      ื่
                 ื้
               โดยศูนย์การทหารราบในฐานะที่เป็นผู้ถือสิทธิในที่ดิน เป็นที่น่าสังเกตว่าข้อเรียกร้องของชาวบ้านในพนที่นั้น
                                                                                                    ื้
               ไม่ได้อ้างสิทธิเหนือที่ดินของชุมชนแต่พวกเขาเรียกร้องถึงสิทธิในการรับบริการสาธารณะ

               กำรกลำยลงของผู้ทรงสิทธิ


                       ความจ าเป็นในการเข้าถึงไฟฟาของคนในชุมชนที่ไม่สามารถประนีประนอมกับศูนย์การทหารราบได้
                                               ้
                                                                                                22
                                                                           ิ
               นั้นก็เข้าสู่กระบวนการยุติธรรมในการพิจารณาของศาลปกครองตามค าพพากษาศาลปกครองสูงสุด  ชาวบ้าน
                   ื้
               ในพนที่ได้ยื่นฟองร้องหน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้องจ านวน 6 ราย คือ 1) กรมธนารักษ์ 2) กองทัพบก 3) ผู้ว่า
                            ้
                                                                                              ้
               ราชการจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 4) นายกองค์การบริหารส่วนต าบลหนองตาแต้ม 5) การไฟฟาส่วนภูมิภาค
               และ 6) การประปาส่วนภูมิภาค เนื่องจากละเลยการปฏิบัติหน้าที่ในการติดตั้งไฟฟาและประปา และการที่
                                                                                     ้


               22  โปรดดู ค าพิพากษาฎีกาที่ 651/2553 และ 813/2556
                                                                                                     134
   131   132   133   134   135   136   137   138   139   140   141