Page 151 - thaipaat_Stou_2563
P. 151
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
Keyword: Arable land problems, Banthat Range, Phatthalung Province Area
บทน ำ
ี
ั
พื้นที่ป่าเทือกเขาบรรทัดในเขตจังหวัดพทลุงนั้นเป็นอกหนึ่งที่ประสบกับปัญหาการบริหารจัดการที่ดิน
จากการโต้แย้งสิทธิ์ระหว่างสิทธิในฐานะพลเมืองของประชาชนและสิทธิชุมชนขององค์กรชุมชนกับอานาจรัฐ
ตามกฎหมายของภาครัฐจึงก่อให้เกิดความขัดแย้งการบริหารจัดการที่ดินระหว่างภาคประชาชนและองค์กร
ุ
ั
ื้
ชุมชนกับภาครัฐ เนื่องจากพนที่ป่าแถบเทือกเขาบรรทัดในเขตจังหวัดพทลุงเป็นผืนป่าที่มีความอดมสมบูรณ์
ื
ั
ื้
ั
ของพนธุ์พชและพนธุ์สัตว์ เป็นแหล่งต้นน้ าเหมาะแก่การตั้งถิ่นฐานจึงมีก่อตั้งชุมชนต่าง ๆ ขึ้นในพนที่แถบ
ั
ึ่
เทือกเขาบรรทัดในเขต จังหวัดพทลุงและมีการด าเนินชีวิตของประชาชนที่พงพาและอยู่ร่วมกับธรรมชาติ ใน
ื่
ื้
การเข้ามาตั้งถิ่นฐานของผู้คนในยุคแรก ๆ เป็นการเข้าแผ้วถางพนที่ป่าไม้ที่อดมสมบูรณ์เพอจับจองที่ดินท าไร่
ุ
ปลูกข้าวและพืชผักต่าง ๆ พร้อมทั้งท าสวนปลูกผลไม้และไม้ใช้สอยต่าง ๆ ต่อมาเมื่อจ านวนผู้คนเพมมากขึ้นจึง
ิ่
ื้
ได้มีการขยายบ้านเรือนและเกิดการขยายตัวของชุมชนจนกลายเป็นชุมชนขนาดใหญ่ที่ตั้งอยู่ในพนที่แถบ
ั
ั
เทือกเขาบรรทัดในเขตจังหวัดพทลุงมาจนถึงปัจจุบัน แต่ด้วยกระแสแห่งการพฒนาเศรษฐกิจของประเทศไทย
หน่วยงานภาครัฐจึงเข้ามาด าเนินการส่งเสริมให้ประชาชนในพนที่พนที่แถบเทือกเขาบรรทัดในเขตจังหวัด
ื้
ื้
ื้
ื
พทลุงปลูกยางพาราและพชเศรษฐกิจต่าง ๆ จึงเกิดการปลูกยางพาราขึ้นในพนที่แต่การปลูกยางพาราใน
ั
ื
ช่วงแรกนั้นเป็นการปลูกยางพาราร่วมกับพืชชนิดต่าง ๆ ในลักษณะของป่าสมรม แต่เมื่อยางพารากลายเป็นพช
ื
เศรษฐกิจที่ส าคัญการปลูกยางพาราร่วมกับพชชนิดต่าง ๆ ในรูปแบบของป่าสมรมได้ผลผลิตของยางไม่ดี
เท่าที่ควร ภาครัฐจึงส่งเสริมให้ประชาชนในพื้นที่ปรับเปลี่ยนรูปแบบการปลูกยางพาราจากรูปแบบป่าสมรมมา
ื
ั
เป็นการปลูกยางพาราในรูปแบบพชเชิงเดี่ยวและส่งเสริมให้ประชาชนปลูกยางสายพนธุ์ใหม่ รวมทั้งส่งเสริมให้
ื้
ิ่
ื้
มีการขยายพนที่ปลูกยางพาราด้วยการอนุญาตให้มีแผ้วถางพนที่ป่าไม้เพมโดยไม่ได้มีการควบคุมอย่างชัดเจน
พร้อมทั้งก าหนดพระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะห์การท าสวนยาง พ.ศ. 2503 ขึ้น จึงก่อให้เกิดการแผ้วถาง
ื้
ท าลายพนที่ป่าไม้เพอขยายพนที่ปลูกจ านวนมาก ส่งผลให้พนที่ป่าไม้ลดลงอย่างรวดเร็ว น ามาสู่การเกิด
ื้
ื้
ื่
ผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมและเกิดภัยพิบัติในรูปแบบต่าง ๆ ในพื้นที่
ุ
ื้
ทั้งนี้เพอด ารงรักษาไว้ซึ่งพนที่ป่าไม้ที่อดมสมบูรณ์และจ ากัดการบุกรุกแผ้วถางพนที่ป่าไม้ของ
ื่
ื้
ื้
ประชาชนในพนที่ ภาครัฐจึงเข้ามาด าเนินการบริหารจัดการที่ดินในพนที่ด้วยการก าหนดให้พนป่าสงวน ตาม
ื้
ื้
ความในมาตราที่ 10 และมาตราที่ 26 แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองและสงวนป่า พ.ศ. 2481 ก าหนดให้เป็น
ื้
พนป่าสงวนแห่งชาติตามความในมาตราที่ 5 และมาตราที่ 6 แห่งพระราชบัญญัติป่าสงวนแห่งชาติ พ.ศ.
ั
2507 และต่อมาก าหนดบริเวณที่ดินป่าเขาบรรทัดในบางส่วนเป็นเขตรักษาพนธุ์สัตว์ป่าเขาบรรทัด ตาม
อาศัยตามความมาตราที่ 19 แห่งพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2503 และก าหนดให้ป่า
ุ
สงวนแห่งชาติป่าเทือกเขาบรรทัดในเขตจังหวัดพทลุงเป็นเขตอทยานแห่งชาติเขาปู่-เขาย่าตามพระราชบัญญัติ
ั
อุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2504 ซึ่งไม่ได้ด าเนินการส ารวจและก าหนดแนวเขตของพื้นที่อย่างชัดเจน การกาหนด
ื้
ั
เขตพนที่ป่าสงวน ป่าสงวนแห่งชาติที่พฒนาไปสู่การก าหนดเป็นเขตรักษาพนธุ์สัตว์ป่าเขาบรรทัดและเขต
ั
อุทยานแห่งชาติเขาปู่เขาย่านั้นทับซ้อนที่ท ากินและอยู่อาศัยของประชาชนจึงส่งผลให้ประชาชนในพนที่ซึ่งไม่มี
ื้
ื้
เอกสารสิทธิ์ในที่ดินตามประมวลกฎหมายที่ดินต้องกลายเป็นกลุ่มคนที่บุกรุกพื้นที่ป่าไม้และอยู่อาศัยในพนที่ป่า
้
ไม้อย่างผิดกฎหมาย ทั้ง ๆ ที่ได้อยู่อาศัยและท ากินมาก่อนที่ภาครัฐจะเขามาด าเนินการบริหารจัดการที่ดิน
ั
การบริหารจัดการที่ดินในพื้นที่แถบเทือกเขาบรรทัดในเขตจังหวัดพทลุงตามแนวทางของภาครัฐนั้นได้
ส่งผลกระทบต่อการด าเนินชีวิตของประชาชน ซึ่งไม่สามารถด ารงชีพตามวิถีของระบบการท าสวนยางได้อย่าง
149