Page 156 - thaipaat_Stou_2563
P. 156
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
ในขณะที่ภาครัฐมุ่งที่จะปกป้องไว้ซึ่งพื้นที่ป่าไม้ด้วยการก าหนดให้เป็นเขตป่าสงวน ป่าสงวนแห่งชาติและพัฒนา
ุ
ั
ไปสู่การก าหนดเป็นเขตรักษาพนธุ์สัตว์ป่าเขาบรรทัดและเขตอทยานแห่งชาติเขาปู่เขาย่า ซึ่งเกิดการทับซ้อน
ื้
กับที่ดินท ากินและอยู่อาศัยเดิมของประชาชนโดยมีสาเหตุมาจากการไม่ได้ส ารวจแนวเขตของพื้นที่หรือลงพนที่
ื้
ื่
เพอด าเนินการก าหนดขอบเขตที่ดินเพอก าหนดเป็นพนที่เขตเขตป่าสงวนและป่าสงวนแห่งชาติให้มีความ
ื่
ั
ชัดเจน แต่กลับมุ่งด าเนินการามกฎหมายและมุ่งใช้ข้อกฎหมายเพอบังคับต่อประชาชน เมื่อพฒนาไปสู่การ
ื่
ั
ื้
ุ
ื่
ก าหนดเป็นเขตรักษาพนธุ์สัตว์ป่าเขาบรรทัดและเขตอทยานแห่งชาติเขาปู่เขาย่าเพอยกระดับให้เป็นพนที่หวง
ห้ามแบบเด็ดขาด ผู้ที่ครอบครองไม่ว่าจะด้วยเหตุผลกลใดก็ไม่ได้มีสิทธิครอบครองในที่ดินนั้น ซึ่งยิ่งก่อให้เกิด
ปัญหาและสร้างความรุนแรงของปัญหามากขึ้นเมื่อการบริหารจัดการที่ดินของภาครัฐส่งผลกระทบต่อการด ารง
ชีพของประชาชน ประชาชนขาดสิทธิและเสรีภาพในการประกอบอาชีพและอยู่อาศัย ประชาชนในพื้นที่จึงเกิด
การรวมตัวกันเพอเรียกร้องความเป็นธรรมและสิทธิอนชอบธรรมต่อภาครับและพฒนาไปสู่การจัดตั้งเป็น
ั
ั
ื่
ื่
องค์กรภาคประชาชนและองค์กรชุมชนเพอเรียกร้องให้ภาครัฐเข้ามาแก้ไขปัญหาจากการบริหารจัดการที่ดิน
ของภาครัฐ พร้อมทั้งเรียกร้องให้มีการด าเนินการแก้ไขปัญหาจากการบริหารจัดการที่ดินในรูปแบบของสิทธิ
ิ
ของชุมชนและโต้แย้งสิทธิ์ในการบริหารจัดการที่ดินในฐานะสิทธิของผู้ซึ่งได้ท ากนและอยู่อาศัยมาก่อนที่อานาจ
รัฐตามกฎหมายจะเข้ามาบริหารจัดการที่ดินเพื่อปกป้องไว้ซึ่งพื้นที่ป่า
ปัญหำในกำรบริหำรจัดกำรที่ดิน
ปัญหาในการบริหารจัดการที่ดินแถบเทือกเขาบรรทัดในเขตจังหวัดพทลุงจึงได้เริ่มปะทุและทวีความ
ั
รุนแรงมากขึ้นมาจะกระทั้งปัจจุบันกว่า 59 ปี เมื่อแนวคิดและรูปแบบในการบริหารจัดการที่ดินของภาครัฐกับ
ภาคประชาชนและองค์กรชุมชนมีความแตกต่างกันและก่อให้การเกิดปัญหาจากการบริหารจัดการที่ดินและ
ความขัดแย้งด้านที่ดินขึ้น เนื่องจากในอดีตนั้นการเข้ามาก่อตั้งถิ่นฐานในพื้นที่นั้นเป็นการเข้าแผ้วถางผืนป่าเพอ
ื่
ื่
จับจองที่ดินในท าไร่ท าสวนเพอการด ารงชีพ พร้อมทั้งมีการสร้างบ้านเรือนเพออยู่อาศัยจนกลายเป็นชุมชนขึ้น
ื่
ในพื้นที่แถบเชิงเขาของเทือกเขาบรรทัดในเขตจังหวัดพทลุงมาจนถึงทุกวันนี้ ประชาชนในพื้นที่ส่วนใหญ่มีสิทธิ
ั
ในการครอบครองที่ดินในสถานะของผู้ที่อยู่อาศัยและท ากินในพนที่มาก่อน โดยมิได้ให้ความส าคัญและความ
ื้
สนใจถึงเอกสารที่แสดงถึงความเป็นเจ้าของในที่ดินตามรูปแบบหรือข้อก าหนดของหน่วยงานราชการ แต่ให้
ึ่
ความส าคัญกับการด ารงชีพที่พงพาอาศัยและรักษาดูแลพนที่ป่า แต่ต่อมาเมื่อภาครัฐมุ่งให้ความส าคัญในเรื่อง
ื้
การพฒนาประเทศด้วยการส่งเสริมให้มีการขยายพนที่ปลูกยางพาราและให้ด าเนินการปลูกยางให้เป็นไปตาม
ื้
ั
ี
ข้อก าหนดของการรับเงินสงเคราะห์การท าสวนยางจากกองทุนสงเคราะห์การท าสวนยาง อกทั้งตาม
พระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะห์การท าสวนยาง ปี พ.ศ. 2503 จึงก่อให้เกิดการแผ้วถางท าลายพนที่ป่าไม้
ื้
ื่
ื้
ื้
เพอท าปลูกยางพาราส่งผลให้พนที่ป่าไม้ในพนที่ลดลงและเกิดปัญหาการตัดไม้ท าลายป่าในวงกว้าง ส่งผลให้
พนที่ป่าไม้ในภาคใต้ของประเทศไทยมีจ านวนลดลงอย่างรวดเร็ว ทั้งนี้เพอด ารงและรักษาไว้ซึ่งพนที่ป่าไม้ที่
ื่
ื้
ื้
ยังคงอุดมสมบูรณ์ของพื้นที่ป่าเทือกเขาบรรทัดในเขตจังหวัดพทลุง ภาครัฐจึงมีแนวคิดว่าด้วยการคุ้มครองและ
ั
สงวนป่าไม้ เข้ามาปรับใช้และเป็นแนวทางในการปกป้องและรักษาป่าไม้อนอดมสมบูรณ์ไว้ให้คงอยู่ด้วย
ุ
ั
ื้
นโยบายการบริหารจัดการที่ดินในพนที่ จึงก่อให้เกิดปัญหาความขัดแย้งด้านที่ดินระหว่างภาครัฐกับภาค
ั
ประชาชนและองค์กรชุมชนขึ้นในพนที่ และน าไปสู่การโต้แย้งสิทธิ์อนชอบธรรมในที่ดินระหว่างภาครัฐกับประ
ื้
ประชาชนและองค์กรชุมชนขึ้น
่ ่ เกิดความขัดแย้งด้านทีดิน
่
้
์
่
่
่
่
ุ
การก าหนดพืนทีปาสงวนและปาอนรักษทับซ้อนทีท ากินและทีอยูอาศัย ระหว่างภาครัฐกับภาค
ั
ปญหาใน เดิม ประชาชนและองค์กรชุมชน
การบริหาร การชุมนมประท้วงของภาคประชาชนและองค์กรภาคประชาชน
ุ
่
จัดการทีดิน 154
นโยบายในการแก้ไขปญหาทีดินของภาครัฐประสบความล้มเหลว การอ้างสิทธิ์ความชอบธรรม
ั
่
่
ในทีดิน