Page 152 - thaipaat_Stou_2563
P. 152

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓



                                                 ่
               ปกติ รวมทั้งถูกจับกุมด าเนินคดีทั้งคดีแพงและคดีอาญาจึงได้รวมตัวกันเป็นกลุ่มภาคประชาชนและขับเคลื่อน
                                                                           ื่
               ไปสู่การเป็นองค์กรภาคประชาชนและเครือข่ายองค์กรภาคประชาชนเพอเรียกร้องให้หน่วยงานภาครัฐลงมา
               ด าเนินการแก้ไขปัญหาจากการบริหารจัดการที่ดิน แต่ไม่ได้รับการแก้ไขปัญหาที่ชัดเจนและน าไปสู่ความยั่งยืน
               ในการบริหารจัดการที่ดินและแก้ไขปัญหาความความขัดแย้งด้านที่ดินในพนที่ ประกอบกับการด าเนินการของ
                                                                            ื้
               ภาครัฐมุ่งบังคับใช้กฎหมายและระเบียบข้อบังคับในการบริหารจัดการและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น อีกทั้งนโยบาย
               และแนวทางในการบริหารจัดการที่ดินและแก้ไขปัญหาจากการบริหารจัดการที่ดินของภาครัฐนั้นไม่สอดคล้อง

                                                                                                   ื้
               กับสภาพความเป็นจริงและความต้องการของประชาชนในพื้นที่ ตลอดจนขาดการค านึงถึงบริบทของพนที่และ
               ประวัติความเป็นมาของการก่อตั้งถิ่นฐานและชุมชน จึงไม่สามารถด าเนินการแก้ไขปัญหาจากการบริหาร
               จัดการที่ดินได้อย่างเป็นรูปธรรมและน าไปสู่การเกิดปัญหาความขัดแย้งด้านที่ดินระหว่างภาครัฐกับภาค
                                              ื่
               ประชาชนและองค์กรชุมชน ทั้งนี้เพอน าไปสู่การก าหนดแนวทางในการแก้ไขปัญหาบริหารจัดการที่ดินและ
               ปัญหาความขัดแย้งด้านที่ดินในเขตจังหวัดพทลุงอย่างยั่งยืนได้นั้นจึงมีความจ าเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องศึกษาและ
                                                    ั
               ท าความเข้าใจถึงสภาพปัญหาในการบริหารจัดการที่ดินในพื้นที่
               วิธีกำรศึกษำ
                                                                 ื้
                                                                                                 ั
                       บทความเรื่องปัญหาการบริหารจัดการที่ดินท ากินพนที่แถบเทือกเขาบรรทัดในเขตจังหวัดพทลุงนั้นใช้
                                                                         ื่
               เทคนิควิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพโดยใช้วิธีการพรรณนาเชิงเนื้อหาเพอสรุปและวิเคราะห์ข้อมูลที่แสดงให้เห็น
               ถึงสภาพของปัญหาการบริหารจัดการที่ดินท ากินพนที่แถบเทือกเขาบรรทัดในเขตจังหวัดพทลุง โดยมี
                                                            ื้
                                                                                                ั
               วิธีด าเนินการวิจัยดังนี้
                       1. การศึกษาค้นคว้าจากแนวคิด เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวกับสภาพของการบริหารจัดการที่ดิน
               ลักษณะของการบริหารจัดการที่ดิน รูปแบบในการบริหารจัดการที่ดินและแนวทางในการบริหารจัดการที่ดิน
               ตลอดจนปัญหาและผลกระทบจากการบริหารจัดการที่ดินท ากินพื้นที่แถบเทือกเขาบรรทัดในเขตจังหวัดพัทลุง
                       2. การเก็บรวบรวมข้อมูลจากพนที่ศึกษา ซึ่งเป็นการจัดเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลจาก
                                                   ื้
                                           ื้
               ปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในพนที่ศึกษาด้วยรูปแบบการสังเกต การเข้าร่วมประชุมและท ากิจกรรมต่าง ๆ
               ในพื้นที่ ตลอดจนการสัมภาษณ์อย่างไม่เป็นทางการในประเด็นที่เกี่ยวกับสภาพการบริหารจัดการที่ดินและการ
               บริหารจัดการที่ดินท ากินพื้นที่แถบเทือกเขาบรรทัดในเขตจังหวัดพทลุง
                                                                      ั
                       3. การสัมภาษณ์แบบเป็นทางการ ซึ่งเป็นการสัมภาษณ์เชิงลึกโดยการใช้แบบสัมภาษณ์ประกอบไป

               ด้วยเจ้าหน้าที่ของรัฐ เจ้าหน้าที่ป่าไม้ ผู้น าท้องถิ่นและผู้น าท้องที่ ผู้แทนองค์กรชุมชนและประชาชนที่เกี่ยวข้อง
               กับการบริหารจัดการที่ดินและรูปแบบในการบริหารจัดการที่ดินท ากินพื้นที่แถบเทือกเขาบรรทัดในเขตจังหวัด
               พัทลุง จ านวน 175 คน
                       4. การจัดประชุมแบบมีส่วนร่วมในลักษณะของการจัดประชุมระดมความคิดและเวทีสาธารณะใน

                 ื้
               พนที่ซึ่งเป็นการด าเนินการจัดประชุมภาคีที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการที่ดินและเสนอรูปแบบในการ
                                                                                                   ื้
               บริหารจัดการที่ดินที่ก่อให้เกิดประสิทธิภาพและน าไปสู่ความยั่งยืนในการบริหารจัดการที่ดินท ากินพนที่แถบ
               เทือกเขาบรรทัดในเขตจังหวัดพัทลุง จ านวน 17 ครั้ง
               ผลกำรศึกษำ

                       จากการวิเคราะห์ข้อมูลแนวคิดและเอกสารที่เกี่ยวข้อง การสัมภาษณ์เชิงลึก จ านวน 175 คนและ
               การสัมภาษณ์ไม่เป็นทางการบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาที่ดินท ากิน การจัดประชุมแบบมีส่วนร่วม
               จ านวน 17ครั้ง ตลอดจนการเข้าร่วมประชุมและท ากิจกรรมต่างๆ ในพนที่ พบว่าการบริหารจัดการที่ดินและ
                                                                          ื้
                                                                                         ั
               น าไปสู่การเกิดปัญหาการบริหารจัดการที่ดินในพื้นที่แถบเทือกเขาบรรทัดในเขตจังหวัดพทลุง โดยจุดเริ่มต้อน
                                         ้
               ของปัญหานั้นเกิดขึ้นจากการเขามาจับจองที่ดินของของภาคประชาชนด้วยการเข้ามาแผ้วถางพื้นที่ป่าที่มีความ
                                                                                                     150
   147   148   149   150   151   152   153   154   155   156   157