Page 154 - thaipaat_Stou_2563
P. 154
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
ื้
และอยู่อาศัยในพนที่เดิมซึ่งได้แผ้วถางและบุกรุกแผ้วถางที่ดินมาก่อนหน้านี้ แต่ก็ยังมีกลุ่มคนบางกลุ่มที่มีการ
ื้
ิ่
ลักลอบแผ้วถางและบุกรุกพนที่ป่าไม้เพมเติมบ้าง ต่อมาภาครัฐก าหนดนโยบายในการส่งเสริมการปลูก
ยางพาราและพัฒนาสายพันธุ์ยางพาราที่ให้ผลผลิตมากกว่ายางสายพันธุ์พื้นเมืองเดิมที่ประชาชนปลูกอยู่ พร้อม
ทั้งปรับเปลี่ยนรูปแบบการปลูกยางพาราจากแบบป่าสมรมมาเป็นการปลูกยางพาราแบบสวนยางพารา การ
ื้
ื้
ปลูกยางพาราของประชาชนในพนที่ไม่ว่าจะอยู่ในพนที่ราบหรือพนที่ลาดเชิงเขาจึงเปลี่ยนไปและมุ่งพฒนาการ
ื้
ั
ปลูกยางพาราไปเป็นการปลูกแบบเชิงเดี่ยวตามพระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะห์การท าสวนยาง ปี พ.ศ.
2503 โดยส านักงานกองทุนสงเคราะห์การท าสวนยาง (สกย.) สังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีการ
ด าเนินการจัดสรรทุนสงเคราะห์การท าสวนยางให้กับประชาชนที่ปลูกยางพาราและสนใจที่จะปลูกยางพารา
โดยจะต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขของกองทุนสงเคราะห์การท าสวนยางตามนิยามที่ว่าสวนยางคือที่ดินปลูกต้นยาง
เนื้อที่ไม่น้อยกว่าสองไร่ แต่ละไร่มีต้นยางปลูกไม่น้อยกว่าสิบต้นและโดยส่วนเฉลี่ยไม่น้อยกว่าไร่ละยี่สิบห้าต้น
รูปแบบการปลูกยางพาราต้องเป็นระเบียบ มีการจัดวางระยะห่างระหว่างต้นและระหว่างแถวที่แน่นอนและ
ปลูกในรูปแบบของพืชเชิงเดี่ยวตามหลักการของกรมการเกษตร ส่งผลให้วิถีแห่งการพึ่งพาและอยู่ร่วมกับผืนป่า
ื้
ื
ของประชาชนในพนที่มีการเปลี่ยนแปลงไป รูปแบบการปลูกพชในลักษณะของป่าสมรมก็สูญหายไปในที่สุด
ี
ื่
เพยงเพอจะต้องด าเนินการปลูกยางพาราให้สอดคล้องกับข้อบังคับและแนวทางการส่งเสริมของหน่วยงาน
ภาครัฐและข้อมูลตามหลักวิชาการเกษตรที่ขาดการศึกษาบริบทของสังคมและไม่คานึงถึงวิถีชีวิตของประชาชน
ื้
และความเหมาะสมของพนที่ จากการปรับรูปแบบการปลูกยางจากยางพาราพนธุ์พนเมืองไปสู่การปลูก
ื้
ั
ั
ยางพาราสายพนธุ์ใหม่ตามกระแสของการส่งเสริมและสนับสนุนของหน่วยงานภาครัฐ ตลอดจนการ
ปรับเปลี่ยนรูปแบบการปลูกยางพาราไปตามข้อก าหนดของการรับเงินสงเคราะห์การท าสวนยางจากกองทุน
ุ
สงเคราะห์การท าสวนยางและตามพระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะห์การท าสวนยาง ปีพทธศักราช 2503 ที่
มองว่าสวนยางพาราในประเทศไทยส่วนมากเป็นสวนเก่าและเป็นยางที่มิใช่ยางพันธุ์ดีเป็นเหตุให้การผลิตยางไม่
ได้ผลตามที่ควรจะได้และโดยที่การแก้ไขสภาพที่เป็นอยู่ดังกล่าวให้ดีขึ้น จะต้องกระท าด้วยการปลูกยางพนธุ์ดี
ั
แทนยางเก่าจึงสมควรให้มีกฎหมายจัดตั้งกองทุนขึ้นเพอใช้จ่ายในการนี้ ซึ่งจากข้อก าหนดต่าง ๆ ตาม
ื่
พระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะห์การท าสวนยาง พ.ศ. 2503 เพอให้ได้เงินและได้เข้าเป็นสมาชิกของกองทุน
ื่
สงเคราะห์การท าสวนยาง ประชาชนในพนที่ตามนโยบายการส่งเสริมและสนับสนุนของรัฐบาลจึงต้องเปลี่ยน
ื้
วิถีของการปลูกยางพาราให้เป็นไปตามข้อก าหนดของกองทุนสงเคราะห์การท าสวนยางโดยเปลี่ยนจากการ
ปลูกยางพนธุ์พนเมืองมาเป็นการปลูกยางสายพนธ์ดีที่ให้ผลผลิตสูงตามการส่งเสริมของภาครัฐ ปรับรูปแบบ
ั
ื้
ั
ื
การปลูกยางพาราจากป่าสมรมมาเป็นสวนยางพาราในรูปแบบของพชเชิงเดี่ยว ทั้งนี้เมื่อวิถีของการปลูก
ั
ื
ื้
ยางพาราจากป่าสมรมเป็นสวนยางพาราของลักษณะพชเชิงเดี่ยวและเปลี่ยนจากยางสายพนธุ์พนเมืองมาเป็น
ั
ยางสายพนธุ์ดีจึงก่อให้เกิดการแผ้วถางป่าสมรมที่ได้ท ากินอยู่เดิมให้โล่งเตียนตามหลักเกณฑ์ของกองทุน
ื่
ื้
ิ่
สงเคราะห์การท าสวนยางและในบางส่วนก็ลักลอบแผ้วถางพนที่ป่าไม้เพมเติมเพอปลูกยางพารา ส่งผลให้
ภาครัฐมองว่าประชาชนในพนที่บุกรุกแผ้วถางพนที่ป่าไม้เพมทั้ง ๆ ที่ประชาชนส่วนใหญ่ท ากินในพนที่เดิม
ื้
ื้
ื้
ิ่
เพียงแต่เป็นการปรับเปลี่ยนรูปแบบการบริหารจัดการที่ดินตามนโยบายของรัฐและมีเพียงบางส่วนที่ลักลอบบุก
ื้
ื่
รุกแผ้วถางพนที่ป่าไม้เพอขยายพนที่ปลูกยางพาราตามนโยบายที่รัฐส่งเสริม การบริหารจัดการที่ดินของ
ื้
ประชาชนที่เพอท ากินและอยู่อาศัยก็สวนทางกับแนวทางในการบริกหารจัดการที่ดินของภาครัฐตั้งแต่นั่นมา
ื่
จนถึงปัจจุบัน
กำรบริหำรจัดกำรที่ดินของภำครัฐ
ส าหรับการบริหารจัดการที่ดินของภาครัฐนั้นในช่วงแรก ๆ นั้น ภาครัฐเข้ามามีบทบาทในการบริหาร
จัดการที่ดินโดยมุ่งสนับสนุนการส่งเสริมและการขยายตัวทางด้านเศรษฐกิจ ด้วยการก าหนดนโยบายและ
152