Page 155 - thaipaat_Stou_2563
P. 155
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
่
แนวทางในการส่งเสริมของภาครัฐที่มุ่งให้ความส าคัญกับมูลค่าทางเศรษฐกิจและสภาวะการแขงขันทางการค้า
ื้
มุ่งส่งเสริมให้มีการขยายพื้นที่เพื่อท าการเกษตรจึงน าไปสู่การบุกรกุแผ้วถางพนที่ป่าแถบเทือกเขาบรรทัดในเขต
จังหวัดพัทลุง เมื่อมีการบุกรุกพื้นที่ป่าไม้ในวงกว้างส่งผลให้พื้นที่ป่าไม้ลดลงจ านวนมาก ภาครัฐก าหนดแนวทาง
ื้
ื่
ื้
และนโยบายในการบริหารจัดการที่ดินเพอจ ากัดการบุกรุกพนที่ป่าและการขยายพนที่ทางการเกษตรด้วยการ
ก าหนดให้พื้นที่ป่าเทือกเขาบรรทัดในเขตจังหวัดพทลุงในบางส่วนเป็นป่าสงวน ตามความในมาตราที่ 10 และ
ั
มาตราที่ 26 แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองและสงวนป่า พ.ศ. 2481 ด้วยเหตุผลที่ว่าเนื่องจากมีไม้ชนิดดีมีค่า
ั
เป็นปริมาณมากเหมาะที่จะสงวนไว้เพอให้มีไม้ไว้ใช้ตลอดไปอนจะเป็นประโยชน์มากยิ่งกว่าที่จะแผ้วถางเป็น
ื่
ื่
ื่
พื้นที่เพาะปลูกหรือเพอกิจการอย่างอื่นจึงสมควรสงวนป่าแห่งนี้ไว้เพอประโยชน์แห่งรัฐและประชาชน ต่อมาได้
ื้
ทยอยก าหนดให้ป่าในแต่ละพนที่เป็นป่าสงวนแห่งชาติ โดยอาศัยอานาจตามความในมาตราที่ 5 และมาตราที่
6 แห่งพระราชบัญญัติป่าสงวนแห่งชาติ พ.ศ. 2507 เนื่องจากป่าแห่งนี้มีไม้ยาง ไม้นาคบุตร ไม้ตะเคียนทอง
ื่
ื่
ไม้หลุมพอและไม้ชนิดอนซึ่งมีค่าจ านวนมากและมีของป่ากับทรัพยากรธรรมชาติอนด้วย จึงสมควรก าหนดให้
เป็นป่าสงวนแห่งชาติ เพื่อรักษาสภาพป่า ไม้ ของป่าและทรัพยากรธรรมชาติอื่นไว้ กระทั่งในวันที่ 22 สิงหาคม
พ.ศ. 2518 มีพระราชกฤษฎีกาก าหนดบริเวณที่ดินป่าเขาบรรทัดในท้องที่ต าบลบ้านนา ต าบลกงหรา ต าบล
คลองเฉลิม อาเภอเมืองพทลุง ต าบลตะโหมด อาเภอเขาชัยสน ต าบลป่าบอน อาเภอปากพะยูน จังหวัดพทลุง
ั
ั
ั
เป็นเขตรักษาพนธุ์สัตว์ป่าเขาบรรทัด และในวันที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2525 มีพระราชกฤษฎีกาก าหนด
บริเวณที่ดินป่าเทือกเขาบรรทัดในท้องที่ต าบลตะแพน ต าบลเขาปู่ อาเภอศรีบรรพต อาเภอควนขนุน ต าบล
ั
ุ
บ้านนา อาเภอเมืองพทลุง ต าบลกงหรา ต าบลชะรัด อาเภอกงหรา จังหวัดพทลุง เป็นเขตอทยานแห่งชาติเขา
ั
ุ
ปู่-เขาย่าตามพระราชบัญญัติอทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2504 เพอคุ้มครองรักษาทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่ เช่น
ื่
ั
พนธุ์ไม้และของป่า สัตว์ป่า ตลอดจนทิวทัศน์ ป่าและภูเขาให้คงอยู่ในสภาพธรรมชาติเดิมมิให้ถูกท าลายหรือ
เปลี่ยนแปลงไป เพื่ออ านวยประโยชน์ทั้งทางตรงและทางอ้อมแก่รัฐและประชาชน จากการก าหนดให้พื้นที่แถบ
ั
เชิงเขาของเทือกเขาบรรทัดในเขตจังหวัดพทลุงเป็นเขตป่าสงวนแห่งชาติและพฒนาไปสู่การก าหนดพนที่ป่า
ั
ื้
ุ
อนุรักษ์ในรูปแบบของเขตรักษาพนธุ์สัตว์ป่าเขาบรรทัดและเขตอทยานแห่งชาติเขาปู่เขาย่านั้นมีความมุ่งหวัง
ั
ุ
เพอปกป้องและรักษาไว้ซึ่งพนที่ป่าไม้ให้คงอดมสมบูรณ์แต่กลับก่อให้เกิดผลกระทบต่อการด ารงชีวิตของ
ื้
ื่
ั
ประชาชน เนื่องจากการก าหนดให้เป็นเขตป่าสงวน ป่าสงวนแห่งชาติและพฒนาไปสู่การก าหนดเป็นเขตรักษา
ั
ื้
ุ
พนธุ์สัตว์ป่าเขาบรรทัดและเขตอทยานแห่งชาติเขาปู่เขาย่านั้นเกิดการทับซ้อนกับพนที่ท ากินและอยู่อาศัยเดิม
ื้
ของประชาชน เนื่องจากไม่ได้มีการด าเนินการส ารวจบริบทของพนที่และด าเนินการก าหนดแนวเขตของพนที่
ื้
ให้มีความชัดเจนถึงขอบเขตที่แน่ชัดของเขตชุมชนเดิมกับเขตพนที่ป่าอนุรักษ์ ภาครัฐมุ่งเพยงการบังคับใช้
ี
ื้
ื้
กฎหมายเพอปกป้องและคุ้มครองพนที่ ประกอบกับพนที่ท ากินและอยู่อาศัยเดิมของประชาชนส่วนใหญ่นั้น
ื้
ื่
ี
ไม่ได้มีเอกสารสิทธิ์ในที่ดินตามพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. 2497 มีเพยงแค่สิทธิ
ครอบครองซึ่งได้ท ากินและอยู่อาศัยมาก่อนที่ภาครัฐจะเข้ามาบริหารจัดการที่ดินและก าหนดให้เป็นเขตป่า
สงวน ป่าสงวนแห่งชาติและพฒนาไปสู่การก าหนดเป็นเขตรักษาพนธุ์สัตว์ป่าเขาบรรทัดและเขตอทยาน
ุ
ั
ั
แห่งชาติเขาปู่เขาย่า ซึ่งไม่ได้ด าเนินการให้เป็นไปตามข้อกฎหมายหรือกติกาที่ภาครัฐก าหนดขึ้นส่งผลให้
ประชาชนที่ได้ท ากินและอยู่อาศัยในพื้นที่ทับซ้อนกับพื้นที่ป่าไม้ของภาครัฐต้องกลายเป็นบุคคลที่ต้องอยู่อาศัย
อย่างผิดกฎหมาย ทั้งที่ได้ท ากินและอยู่อาศัยมาก่อนการเข้ามาบริหารจัดการที่ดินของภาครัฐ
การบริหารจัดการที่ดินในพนที่แถบเทือกเขาบรรทัดในเขตจังหวัดพทลุงระหว่างภาครัฐกับภาค
ั
ื้
ประชาชนจึงมีมุมมองต่อการบริหารจัดการและการใช้ประโยชน์ในที่ดินที่มีความแตกต่างกนโดยภาคประชาชน
ั
ื่
มุ่งด าเนินการบริหารจัดการที่ดินเพอการยังชีพ ใช้ประโยชน์ในที่ดินเพอท ากินและอยู่อาศัย ไม่ได้ให้
ื่
ความส าคัญกับสิทธิในที่ดินหรือด าเนินการจัดการที่ดินให้เป็นไปตามข้อกฎหมายที่หน่วยงานภาครัฐก าหนดขึ้น
153