Page 153 - thaipaat_Stou_2563
P. 153
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
ื่
ุ
อดมสมบูรณ์เพอท ากินและอยู่อาศัยตามวิถีของการอยู่ร่วมกับป่าอย่างสมดุลและต่อมามีการบุกรุกแผ้วถาง
พื้นที่ป่ามากขึ้นเมื่อภาครัฐส่งเสริมการท าสวนยางพาราด้วยการปลูกในรูปแบบพืชเชิงเดี่ยวตามพระราชบัญญัติ
กองทุนสงเคราะห์การท าสวนยาง ปี พ.ศ. 2503 จากความผิดพลาดเชิงนโยบายของรัฐที่ส่งเสริมการปลูก
ยางพาราเพื่อผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจที่ก่อให้เกิดการท าลายพื้นที่ป่าไม้อย่างมหาศาล จึงพยายามด าเนินการ
ื้
ื่
ุ
นโยบายแก้ไขปัญหาเพอจ ากัดการบุกรุกพนที่ป่าและอนุรักษ์ไว้ซึ่งพนที่ป่าที่ยังคงอดมสมบูรณ์ด้วยการ
ื้
ั
ื้
ั
ก าหนดให้พนที่แถบเทือกเขาบรรทัดในเขตจังหวัดพทลุงเป็นเขตป่าสงวน เขตป่าสงวนแห่งชาติและพฒนาไปสู่
การก าหนดพื้นที่ป่าอนุรักษ์ในรูปแบบของเขตรักษาพนธุ์สัตว์ป่าเขาบรรทัดและเขตอุทยานแห่งชาติเขาปู่เขาย่า
ั
ื้
ิ่
ื้
ซึ่งน ามาสู่ปัญหาเพมเติมเนื่องจากเกิดและการทับซ้อนกับพนที่ท ากินและอยู่อาศัยของประชาชนในพนที่ ทั้งที่
เป็นที่ดินเดิมและที่ดินบุกรุกใหม่จากการส่งเสริมให้มีการปลูกยางพาราของภาครัฐ พร้อมทั้งก่อให้เกิด
ผลกระทบต่อการด ารงชีพของประชาชน อีกทั้งแนวทางในการบริหารจัดการที่ดินของภาครัฐนั้นก็ไม่สอดคล้อง
กับแนวคิดในการบริหารจัดการที่ดินและการใช้ประโยชน์ในที่ดินของประชาชน จึงน าไปสู่การเกิดการอ้างสิทธิ์
แห่งความชอบธรรมระหว่างสิทธิความเป็นพลเมืองของประชาชนน าไปสู่การรวมตัวกันเป็นองค์กรชุมชนใน
ื่
ฐานะของผู้ซึ่งได้ท าการจับจองและครอบครองที่ดินเพอท ากินและอยู่อาศัยมาก่อนกับอานาจรัฐตามกฎหมาย
ของภาครัฐในการบริหารจัดการที่ดิน ทั้งนี้เมื่อมุมมองในการบริหารจัดการที่ดินและการใช้ประโยชน์ในที่ดิน
ึ
ระหว่างภาครัฐกับภาคประชาชนมีความต่างกันโดยต่างฝ่ายต่างอางในความชอบธรรมของสิทธิลอ านาจที่พงมี
้
จึงน าไปสู่การเกิดปัญหาการบริหารจัดการที่ดินขึ้นและพัฒนาความรุนแรงมากระทั่งปัจจุบันที่ไม่สามารถหาจุด
สมดุลในการจัดการที่ดินและบริหารจัดการที่ดินในพื้นที่ได้
กำรบริหำรจัดกำรที่ดินของภำคประชำชน
ส าหรับการบริหารจัดการที่ดินของภาคประชาชนในพนที่นั้นเริ่มต้นจากการตั้งถิ่นฐานของชุมชนแถบ
ื้
ั
เทือกเขาบรรทัดในเขตจังหวัดพทลุงด้วยการเข้ามาแผ้วถางพื้นที่ป่าไม้ซึ่งมีความอุดมสมบูรณ์หรือพื้นที่ป่าไม้ที่มี
ความเสื่อมโทรมเหมาะส าหรับการตั้งถิ่นฐานและท ากิน น าไปสู่การจับจองที่ดินเพอใช้ในการท าไร่และท าสวน
ื่
ื่
ในลักษณะของป่าสมรมเพอการด ารงชีพมีวิถีชีวิตที่พึ่งพากับผืนป่าและอยู่ร่วมกับผืนป่าได้อย่างสมดุล แสดงให้
เห็นได้อย่างชัดเจนว่าการเข้ามาตั้งถิ่นฐานของประชาชนแถบเชิงเขาของเทือกเขาบรรทัดในเขตจังหวัดพทลุง
ั
ในช่วงแรกไม่ก่อให้เกิดบุกรุกและท าลายผืนป่าแต่เป็นการเข้ามาท ากินและอยู่ร่วมกับผืนป่าอย่างถอยทีถอย
อาศัยต่อกันบนพนฐานแห่งวิถีและวัฒนธรรมของคนที่อยู่ร่วมกับป่า ต่อมาเมื่อมีการส่งเสริมให้ประชาชนใน
ื้
ื่
พื้นที่ปลูกยางพาราตามนโยบายของรัฐบาลในขณะนั้นเพอมุ่งหวังผลประโยชน์ทางด้านเศรษฐกิจ ประชาชนใน
ั
ชุมชนต่าง ๆ ในพนที่แถบเทือกเขาบรรทัดในเขตจังหวัดพทลุงและเปลี่ยนสายพนธ์ยางพาราเดิมซึ่งให้ผลผลิต
ั
ื้
ื้
ไม่ดีเท่าที่ควรมาเป็นปลูกยางพาราพนธ์พนเมือง แต่รูปแบบและวิธีการปลูกยางพาราก็ยังคงเป็นลักษณะของ
ั
ป่าสมรมด้วยการน าต้นยางพาราไปปลูกร่วมพชชนิดอน ๆ ตามวิถีแห่งการอยู่ร่วมกับป่าส่งผลให้การปลูก
ื่
ื
ยางพาราไม่ค่อยมีผลกระทบต่อการบุกรุกแผ้วถางพนที่ป่าไม้เพิ่ม แต่เป็นการปลูกตามวิถีดั้งเดิมท าให้ได้ผลผลิต
ื้
ยางพาราไม่ดีเท่าที่ควร แต่เมื่อผลผลิตยางพาราเป็นที่ต้องการของตลาดส่งผลให้ยางพารามีราคาที่สูง เพอ
ื่
ผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจของประเทศหน่วยงานภาครัฐโดยรัฐในขณะนั้นจึงเข้ามาส่งเสริมให้ประชาชนใน
ื่
พนที่ภาคใต้ให้ขยายพนที่ปลูกยางพาราเพมมากขึ้น จึงก่อให้เกิดการบุกรุกแผ้วถางพนที่ป่าเพอขยายพนที่ใน
ื้
ิ่
ื้
ื้
ื้
ื้
การปลูกยางพาราเป็นจ านวนมาก ประกอบกับการบุกรุกแผ้วถางพนที่ป่าเพอจับจองและปลูกยางพาราใน
ื่
ื้
ขณะนั้นไม่ผิดกฎหมายและสามารถท าการแผ้วถางพนที่ป่าไม้ได้อย่างอสระตามศักยภาพของประชาชน แต่
ิ
หลังจากปี พ.ศ. 2484 รัฐบาลได้ตราพระราชบัญญัติป่าไม้ พ.ศ. 2484 ขึ้นโดยก าหนดว่าป่าคือที่ดินที่ยังมิได้
มีบุคคลได้มาตามกฎหมายที่ดิน ส่งผลให้การบุกรุกแผ้วถางพื้นที่ป่าเพอท าการปลูกยางพาราและท ากินหรืออยู่
ื่
อาศัยไม่สามารถด าเนินได้และต้องยุติการบุกรุกป่าไม้ ส่งผลให้ประชาชนที่ท ากินและอยู่อาศัยพื้นที่นั้นได้ท ากิน
151