Page 160 - thaipaat_Stou_2563
P. 160
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
ื่
ประชาชนและองค์กรชุมชนเพอสร้างพลังอานาจในการต่อรองกับภาครัฐ แก้ไขปัญหาจากการบริหารจัดการ
ที่ดินและแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในการบริหารจัดการที่ดินในพนที่ อย่างไรก็ดีรูปแบบและแนวทางในการ
ื้
ด าเนินงานขององค์กรภาคประชาชนและองค์กรชุมชนไม่เป็นที่ยอมรับของภาครัฐและน าไปสู่การเกิดความ
ขัดแย้งในการบริหารจัดการที่ดินระหว่างกัน
ื้
ซึ่งสมารถกล่าวได้ว่าปัญหาการบริหารจัดการที่ดินในพนที่นั้นน าไปสู่การโต้แย้งสิทธิ์ในการบริหาร
จัดการที่ดินระหว่างสิทธิของผู้ซึ่งได้ท ากินและอยู่อาศัยมาก่อนที่ภาครัฐจะก าหนดให้เป็นพนที่ป่าอนุรักษ์ของ
ื้
ภาคประชาชนและองค์กรชุมชนกับอ านาจรัฐตามกฎหมายเพื่อปกป้องไว้ซึ่งพื้นที่ป่าที่แสดงให้เห็นถึงพัฒนาการ
ในการแก้ไขปัญหาที่ดินท ากิน ด้วยการชุมนุมแสดงเชิงสัญลักษณ์เพอเรียกร้องให้หน่วยงานภาครัฐลงมา
ื่
ื้
ด าเนินการแก้ไขปัญหาการทับซ้อนระหว่างเขตพนที่ป่าไม้อนุรักษ์กับพนที่ท ากินและอยู่อาศัยของประชาชน
ื้
ื่
ไปสู่การด าเนินการเพอปกป้องและรักษาไว้ซึ่งพื้นที่ป่าไม้ การก าหนดแนวทางในการใช้ประโยชน์ในที่ดินท ากิน
และการอยู่ร่วมกับผืนป่า ซึ่งก่อให้เกิดการต่อรองและทวงสิทธิ์ในที่ดินระหว่างสิทธิ์ของชุมชนกับนโยบายการ
แก้ไขปัญหาที่ดินในพนที่ป่าไม้ของภาครัฐและการแก้ไขปัญหาที่ดินท ากินในรูปแบบการจัดการตนเองภายใต้
ื้
ื่
สิทธิของชุมชนซึ่งถือเป็นความเข้มแข็งแห่งการมีส่วนร่วมเพอจัดการตนเองและแก้ไขปัญหาของชุมชนโดย
กระบวนการของชุมชน ซึ่งสอดคล้องกับวิวัฒน์ ฤทธิมา,2559 ซึ่งได้สรุปไว้ว่าปัญหาความขัดแย้งด้านที่ดิน
ื้
พนที่แถบเทือกเขาบรรทัดจังหวัดตรังนั้นเกิดจากการโต้แย้งสิทธิ์ระหว่างสิทธิความเป็นพลเมืองของประชาชน
และองค์กรชุมชนกับอานาจรัฐตามกฎหมายของภาครัฐจึงก่อให้เกิดความขัดแย้งระหว่างกัน และส าหรับ
ื้
แนวทางในการแก้ไขของปัญหาความขัดแย้งด้านที่ดินและปัญหาที่ดินท ากินพนที่แถบเทือกเขาบรรทัดในเขต
จังหวัดพทลุงนั้นจะต้องทบทวนและแก้ไขพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดินพทธศักราช 2497
ุ
ั
พระราชบัญญัติอทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2504 พระราชบัญญัติป่าสงวนแห่งชาติ พ.ศ. 2507 และ
ุ
ุ
พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่าพทธศักราช 2535 ตลอดจนข้อกฎหมายและระเบียบข้อบังคับที่
เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการที่ดิน การจัดป่าป่าไม้ที่ล้าสมัย อกทั้งมุ่งส่งเสริมให้เกิดการบริหารจัดการที่ดิน
ี
ภายใต้สิทธิของประชาชนและองค์กรชุมชนที่มุ่งส่งเสริมให้ชุมชนท้องถิ่นหรือชุมชนท้องถิ่นดั้งเดิมย่อมมีสิทธิ
อนุรักษ์หรือฟื้นฟูจารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น ศิลปวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่นและของชาติและมีส่วนร่วม
ในการจัดการ การบ ารุงรักษาและการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม รวมทั้งความ
หลากหลายทางชีวภาพอย่างสมดุลซึ่งสอดคล้องกับวิวัฒน์ ฤทธิมา,2554 ที่เสนอไว้ว่าแนวทางแก้ไขปัญหา
ความขัดแย้งด้านที่ดินระหว่างภาครัฐและภาคประชาชน :กรณีศึกษาเทือกเขาบรรทัดในเขตจังหวัดตรังนั้น
ภาครัฐจะต้องทบทวนและปรับปรุงนโยบายและพระราชบัญญัติอทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2504 พระราชบัญญัติ
ุ
ป่าสงวนแห่งชาติ พ.ศ. 2507 และพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่าพุทธศักราช 2535
ข้อเสนอแนะ
1. ส าหรับการวิจัยในครั้งต่อไปนั้นผควรศึกษาถึงปัญหาในทุกมิติควรศึกษาในมิติของสภาพและ
ลักษณะของผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการบริหารจัดการที่ดินของภาครัฐในการก าหนดให้เป็นเขตป่าอนุรักษ์ ตัว
แบบในการบริหารจัดการที่ดินและแนวทางในการแก้ไขปัญหาจากการบริหารจัดการที่ดินท ากินในพนที่ป่า
ื้
อนุรักษ์อย่างบูรณาการที่น าไปสู่ความอย่างยั่งยืน
2. ส าหรับข้อเสนอเชิงนโยบายนั้นถาครัฐและหน่วยงานของภาครัฐจะต้องด าเนินการทบทวนและ
ประเมินนโยบายในการบริหารจัดการและแก้ไขปัญหาที่ดินของภาครัฐควรศึกษาถึงประสิทธิภาพของนโยบาย
การบริหารจัดการที่ดินและการแก้ไขปัญหาที่ดินของภาครัฐในพนที่ป่าอนุรักษ์ ตลอดจนจัดท าข้อเสนอเชิง
ื้
นโยบายในการบริหารจัดการและแก้ไขปัญหาที่ดินด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมจกทุกภาคส่วน
158