Page 158 - thaipaat_Stou_2563
P. 158
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
ประชาชนด้วยหลักการของโฉนดชุมชน แต่หลักการและกระบวนการคิดของโฉนดชุมชนนั้นไม่สอดคล้องกับ
ื้
ั
ความต้องการที่แท้จริงของประชาชนที่ท ากินและอยู่อาศัยในพนที่ป่าเทือกเขาบรรทัดในเขตจังหวัดพทลุง
ส่งผลให้ประชาชนบางส่วนไม่ยอมรับและด าเนินการตามหลักการของโฉนดชุมชนและต่อมาในปี พ.ศ. 2557
ื้
รัฐบาลได้มีแนวทางและค าสั่งเพอแก้ไขปัญหาที่ดินท ากินให้กับประชาชนในพนที่ป่านั้นตามค าสั่งคณะรักษา
ื่
ความสงบแห่งชาติที่ 64/2557 เรื่องการปราบปรามและการหยุดยั้งการบุกรุกท าลายทรัพยากรป่าไม้ ค าสั่ง
คณะรักษาความสงบแห่งชาติที่ 66 / 2557 เรื่อง เพมเติมหน่วยงานส าหรับการปราบปราม หยุดยั้งการบุก
ิ่
รุกท าลายทรัพยากรป่าไม้และนโยบายการปฏิบัติงานเป็นการชั่วคราวในสภาวการณ์ปัจจุบัน แต่ก็ไม่สามารถ
น าไปสู่การแก้ไขปัญหาและความขัดแย้งด้านที่ดินในพนที่ได้ เนื่องจากการก าหนดแนวทางเพอแก้ไขปัญหาที่
ื่
ื้
เกิดขึ้นจากการบริหารจัดการที่ดินและปัญหาความขัดแย้งด้านที่ดินนั้นยังคงเป็นรูปแบบของการด าเนินการ
ของภาครัฐในลักษณะของการก าหนดนโยบายและข้อบังคับที่เกิดจากแนวคิดของภาครัฐเพยงฝ่ายเดียว ส่งผล
ี
ให้การบังคับใช้นโยบายและข้อบังคับในการบริหารจัดการที่ดินของภาครัฐนั้นไม่สามารถด าเนินการแก้ไข
ปัญหาได้ อกทั้งยังเกิดปัญหาการต่อต้านและคัดค้านจากภาคประชาชนและองค์กรชุมชนในพนที่ และน ามาสู่
ื้
ี
ิ่
การเกิดปัญหาความขัดแย้งในลักษณะต่าง ๆ เพมขึ้น ส่งผลให้การบริหารจัดการที่ดินในพนที่ตามรูปแบบและ
ื้
ี
แนวทางในการจัดการของภาครัฐเพยงฝ่ายเดียวนั้นไม่สามารถน าไปสู่การมีประสิทธิภาพและก่อให้เกิดความ
ยั่งยืนในการบริหารจัดการที่ดินพื้นที่ได้ อีกทั้งยังน าไปสู่การเกิดปัญหาการโต้แย้งในสิทธิในที่ดินระหว่างภาครัฐ
กับภาคประชาชนและองค์กรชุมนขึ้นในพื้นที่
เกิดความขัดแย้งด้านที่ดินระหว่างภาครัฐกับภาคประชาชนและองค์กรชุมชน
ั
การเข้ามาด าเนินการบริหารจัดการที่ดินในพนที่แถบเทือกเขาบรรทัดในเขตจังหวัดพทลุงให้เป็น
ื้
พนที่ป่าอนุรักษ์ของภาครัฐ ซึ่งขาดการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนและภาคส่วนต่าง ๆ ในพนที่นั้นส่งผลให้
ื้
ื้
การด าเนินงานของภาครัฐไร้ประสิทธิภาพ เนื่องจากขาดการยอมรับและเกิดการต่อต้านแนวทางในการ
ด าเนินงานของภาครัฐ จึงก่อให้เกิดปัญหาความขัดแย้งด้านที่ดินในลักษณะต่าง ๆ ขึ้นเมื่อแนวทางการบริหาร
จัดการที่ดินของภาครัฐไม่สามารถน าไปสู่ความยั่งยืน อกทั้งยังก่อให้เกิดปัญหาความขัดแย้งจากการบริหาร
ี
ื้
จัดการที่ดินในพนที่ เนื่องจากการประกาศเขตป่าสงวน ป่าสงวนแห่งชาติและพฒนาไปสู่การก าหนดเป็นเขต
ั
รักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาบรรทัดและเขตอทยานแห่งชาติเขาปู่เขาย่าทับซ้อนที่ท ากินเดิมของประชาชนเพราะไม่ได้
ุ
มีการส ารวจแนวเขตที่ชัดเจน ตลอดจนมีความผิดพลาดจากการปักหมุดแนวเขตของป่าที่ไม่สอดคล้องกับ
ื้
สภาพความเป็นจริง โดยเป็นการก าหนดแนวเขตพนที่ป่าไม้ที่ไม่ชัดเจนและมีความคลุมเครือ ไม่มีการแบ่งแยก
ื้
ระหว่างพนที่ท ากินและอยู่อาศัยของประชาชนกับพนที่ป่าสงวนให้แน่ชัด แต่กลับประกาศพนที่ป่าอนุรักษ์ทับ
ื้
ื้
ซ้อนที่ท ากินและอยู่อาศัยของประชาชนที่อยู่มาก่อนและน ามาสู่การเกิดปัญหาความขัดแย้งจากการบริหาร
จัดการที่ของภาครัฐระหว่างภาครัฐ หน่วยงานของภาครัฐ นโยบายของรัฐและเจ้าหน้าที่ของรัฐกับองค์กรชุมชน
ุ
และภาคประชาชน และน าไปสู่การเกิดปัญหาความขัดแย้งระหว่างประชาชนกับประชาชนด้วยกันเมื่อมีมมมอง
ในการบริหารจัดการที่ดินและการแก้ไขปัญหาที่ดินท ากินมีความแตกต่างกัน
การอ้างสิทธิ์ความชอบธรรมในที่ดิน
การอางสิทธิ์ความชอบธรรมในที่ดินนั้นน าไปสู่การทวีความรุนแรงของความขัดแย้งด้านที่ดินใน
้
้
พื้นที่ เมื่อภาคประชาชนและภาครัฐได้อางสิทธิความชอบธรรมในที่ดิน โดยภาคประชาชนในพื้นที่ได้รวมตัวกัน
ื่
เป็นองค์กรภาคประชาชนเพอด าเนินการประท้วงและเรียกร้องสิทธิ์ความชอบธรรมจากการเข้ามาคุกคามของ
ื้
ภาครัฐ ตลอดจนเสนอแนวทางในการบริหารจัดการที่ดินและแก้ไขปัญหาความขัดแย้งด้านที่ดินในพนที่ต่อ
ภาครัฐ โดยมองว่าประชาชนในพื้นที่ได้เข้ามาจับจองเพออาศัยและท ากินก่อนที่ภาครัฐจะเข้ามาบริหารจัดการ
ื่
ที่ดินและการบริหารจัดการที่ดินของภาครัฐนั้นไม่มีความชอบธรรมเนื่องจากละเมิดสิทธิ์และสร้างความ
156