Page 164 - thaipaat_Stou_2563
P. 164
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
Keyword: Constitution, Democratization, Future Forward Party's
บทน ำ
นับตั้งแต่สิ้นสุดสงครามเย็นระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยเป็นระบอบเดียวที่ได้รับการ
ยอมรับอย่างกว้างขวาง และตั้งอยู่บนหลักการเคารพในสิทธิและเสรีภาพของความเป็นมนุษย์ ประกอบกับเป็น
ระบอบการปกครองที่องค์กรระหว่างประเทศ เช่น องค์กรสหประชาชาติ (United Nation: UN) และสหภาพ
ยุโรป (European Union: EU) ให้ความส าคัญ ซึ่งทั้งสองเป็นองค์กรที่ด าเนินการให้ความร่วมมือและความ
ช่วยเหลือแก่ประเทศต่างๆ ทั่วโลกรวมถึงประเทศไทย ส่งผลให้สถานการณ์การเมืองโลกในยุคปัจจุบันให้
ความส าคัญกับการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ในประเทศไทยนั้นได้ท าการเปลี่ยนแปลงการปกครองจาก
ั
ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์เข้าสู่การปกครองโดยระบอบประชาธิปไตยอนมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข
นับตั้งแต่ปี พ.ศ.2745 ซึ่งส่วนหนึ่งเกิดจากปัญหาด้านเศรษฐกิจการคลังของประเทศ ที่ได้รับผลกระทบมาจาก
สภาวะเศรษฐกิจโลกหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 มีผลต่อเนื่องนับตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 6 และรัชกาลที่ 7
ตามล าดับ ในขณะนั้นเองรัฐบาลไม่สามารถกอบกู้สถานะทางเศรษฐกิจให้อยู่ในสภาวะปกติได้ ประกอบกับ
ความต้องการผลักดันให้ประเทศไทยเข้าสู่ความทันสมัยอย่างอารยะประเทศ จึงท าให้เกิดการเปลี่ยนแปลงการ
30
ปกครองในปี พ.ศ.2475
รัฐไทยได้พยายามผูกโยงการปกครองโดยระบอบประชาธิปไตยเข้ากับแนวคิดรัฐชาติสมัยใหม่ (Nation
state) นั่นคือ ส านึกความเป็นชาติ ในกรณีของประเทศไทยการปกครองแบบประชาธิปไตยไทยถูกยึดโยงกับ
ชาติ ศาสนา และสถาบันพระมหากษัตริย์ ทั้งนี้ งานศึกษาจ านวนหนึ่งชี้ให้เห็นว่าก่อนการเปลี่ยนแปลงการ
ปกครอง พ.ศ. 2475 ประเทศไทยมีแนวทางการปกครองแบบประชาธิปไตย (Democracy) หรือกล่าวได้ว่า
ประชาธิปไตยไม่ใช่สิ่งใหม่ส าหรับการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว เนื่องจากกษัตริย์ในสังคมไทยมีความเป็น
31
ประชาธิปไตยอยู่แล้ว กล่าวคือ กษัตริย์ได้รับการขึ้นครองราชย์จากการเลือกตั้งโดยคณะราษฎร นอกจากนี้
ยังมีงานศึกษาที่ชี้ให้เห็นว่ากษัตริย์ไทยเป็นนักประชาธิปไตย เนื่องจากอานาจเดิมเป็นของกษัตริย์ แต่กษัตริย์
32
ไทยได้มอบอานาจแก่ประชาชนโดยการสละราชสมบัติ ดังนั้น การให้ความหมายของอดมการณ์
ุ
ประชาธิปไตยในประเทศไทยจึงยึดโยงอยู่กับสถาบันกษัตริย์ ซึ่งไม่ตรงกับการให้ค านิยามประชาธิปไตยแบบ
สากล
การน าเสนอบทความฉบับนี้ว่าด้วย กำรช่วงชิงควำมหมำยอำนำจสถำปนำในรัฐธรรมนูญบน
เส้นทำงกำรพัฒนำประชำธิปไตยผ่ำนเส้นทำงและนโยบำยของพรรคอนำคตใหม ผู้เขียนต้องการสะท้อนให้
่
ั
เห็นถึงหลักการการพฒนาประชาธิปไตย (Democratization) โดยมองผ่านกรอบการศึกษาที่มีตัวแสดง คือ
รัฐธรรมนูญ และ พรรคกำรเมอง ซึ่งทั้งสองตัวแสดงที่กล่าวมานั้นถือว่าเป็นสถาบันทางการเมืองที่ส าคัญ
ื
ั
โดยเฉพาะการศึกษารัฐศาสตร์ในกลุ่มสถาบันนิยม (Institutionalism) ด้วยการนี้การเดินทางของการพฒนา
ประชาธิปไตยของไทยได้ล้มลุกคลุกคลานมาตั้งแต่จุดเริ่มต้นของการสถาปนาจนล่วงเลยเวลามาจน 80 กว่าปี
ประชาธิปไตยในรัฐไทยยังคงอยู่ในช่วงของการต่อสู้ ช่วงชิง อานาจ ระหว่าง ประชาชน อานาจรัฐ วัฒนธรรม
30 ส านักเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. (2558). ระบอบประชำธิปไตยของไทยกับกระแสประชำธิปไตยของโลก. สืบค้นเมื่อวันที่ 27 ธันวาคม
2562, แหล่งที่มา : www.parliament.go.th.
31 ณัฐพล ใจจริง. (2556). ขอฝันใฝ่ในฝันอันเหลือเชื่อ. นนทบุรี: ฟ้าเดียวกัน.
32 นฤพล สถาพร, ธีรัตม์ แสงแก้ว และธเนศ ปานหัวไผ่. (2560). กำรศึกษำวิเครำะห์กำรอ้ำงเหตุผลกรณีสร้ำงควำมหมำยเรื่องก ำเนิด
ประชำธิปไตยไทย. วารสารมนุษย์ศาสตร์ 24(2) หน้า 243-259.
162