Page 199 - thaipaat_Stou_2563
P. 199

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓



                       งานวิจัยนี้ต้องการจะชี้ให้เห็นว่าสังคมที่ด าเนินไปภายใต้แนวคิดเสรีนิยมใหม่  โดยเฉพาะการด าเนิน
                                                              ั
               นโยบายทางเศรษฐกิจภายใต้แนวคิดนี้  เป็นหนึ่งในสาเหตุอนดับต้น ๆ ที่เชื่อมโยงไม่สู่การเกิดวิกฤตเศรษฐกิจ และ

               วิกฤตอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง  ซึ่งส่งผลกระทบที่ทาให้เกิดความเหลื่อมล้ าด้านสังคมในหลาย ๆ ประเด็น  แต่ที่เห็นได้
               ชัดเจนที่สุดก็คือ 5 ประเด็น ได้แก่ ความเหลื่อมล้ าทางเชื่อชาติ ความเหลื่อมล้ าในการประกอบอาชีพ ความเหลื่อม

               ล้ าทางเพศ ความเหลื่อมล้ าทางการศึกษา และการเลื่อนชั้นทางสังคม โดยที่ความเหลื่อมล้ าเหล่านี้เห็นได้จาก
               ข้อเท็จจริงของสังคมอเมริกา  ตลอดจนภาพยนตร์เรื่องซูโทเปียก็มีเนื้อหาที่สะท้อนออกมาให้เห็นเช่นเดียวกัน
               ไม่ว่าผู้สร้างจะตั้งใจหรือไม่ตั้งใจก็ตาม  อย่างไรก็ดี ผู้วิจัยมองว่าปัญหาเหล่านี้เป็นปัญหาเชิงโครงสร้างที่เป็นผล
               มาจากการเติบโตทางเศรษฐกิจที่ไม่ทัดเทียมกัน  และความเหลื่อมล้ าก็ยังคงปรากฏอยู่ในทุก ๆ ที่และทุก ๆ
               เวลา ปัญหานี้จึงอาจจะไม่สามารถขจัดให้หมดสิ้นไปได้ แต่สิ่งที่สามารถท าได้คือการลดความเข้มข้นของความ
               เหลื่อมล้ าให้น้อยลงเท่านั้นเอง
                                                      เอกสำรอ้ำงอิง

               Hassler-Forest, Dan. “Life Isn’t Some Cartoon Musical: Neoliberal Identity Politics in Zootopia
                        and Orange Is the New Black.” Journal of popular culture, Vol 51, No.2 (2018).
               Stiglitz, Joseph E. The Great Divide: Unequal Societies and What We Can Do About Them.
                        New York : W.W. Norton, 2015.
               “Zootopia : เพราะเราแตกต่าง..จึงต้องอยู่ข้างกัน.” 2560. Minimal, https://minimore.com/b/rZjxf/1
                        (August 20, 2019).

                        ั
                           ั
                                                                            ั
               กนพนธุ์ พวพนสวัสดิ์, “Zootopia และ Getout : มองการเมืองเรื่องอตลักษณ์ของสหัรัฐผ่านแผ่นฟมล์.”
                    ิ
                                                                                                     ิ
                        2561. ประชาไท, https://prachatai.com/journal/2017/04/71042(23 ตุลาคม 2562).
               โจเซฟ อี สติกลิตซ์. ราคาของความเหลื่อมล้ า. แปลโดย สฤณี อาชวานันทกุล. กรุงเทพฯ : โอเพ่นเวิลด์ส พับลิช
                        ชิ่ง เฮาส์, 2556.
               โทมัส พิเก็ตตี. ทุนนิยมในศตวรรษที่ 21. แปลโดย นรินทร์ องค์อินทรี. กรุงเทพฯ : บางกอกโพสต์, 2560.
               ปรีชภักดิ์ ทีคาสุข. “ทฤศฏีสังคมวิทยาว่าด้วย Zootopia และชีวิตที่ปราศจากการลิ้มรสเสริภาพ ในเมืองแห่ง
                        เสรีภาพ.” 2559.ประชาไท, https://prachatai.com/journal/2016/03/64777(23 ตุลาคม
                        2562).

               สมชัย จิตสุชน. “รายงานการวิจัยความเหลื่อมล้ าในสังคมไทย: แนวโน้ม นโยบาย และแนวทางขับเคลื่อน
                                                          ื่
                        นโยบาย.” 2558. สถาบันวิจัยเพอการพฒนาประเทศไทย, https://tdri.or.th/wp-
                                                                 ั
                        content/uploads/2017/06/Synthesis-Report-Year-2-Inclusive-Growth.pdf          (15
                        กันยายน 2562).















                                                                                                     197
   194   195   196   197   198   199   200   201   202   203   204