Page 200 - thaipaat_Stou_2563
P. 200

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓









                แนวทำงในกำรพัฒนำประสิทธิภำพกำรปฏิบัติหน้ำที่ของพนักงำนสอบสวนด้ำนกำรคุ้มครองสิทธิเสรีภำพ
                             ของผู้ต้องหำเพื่อให้สอดรับตำมบทบัญญัติรัฐธรรมนูญ พุทธศักรำช 2560:
                                                                    ั
                              ศึกษำเฉพำะกรณีพนักงำนสอบสวนในกองบงคับกำรตำรวจนครบำล 9
                  Guidelines on Improving Work Efficiency of Inquiry officers in Protecting Offenders’
                 Rights and Freedom in Accordance with the Constitution of the Kingdom of Thailand
                      B.E. 2560 : Case Study of Inquiry Officers at Metropolitan Police Division 9

                                                 พันตารวจโท ธีรวุฒิ นิลเพ็ชร์
                                            POL.LT.COL. THEERAVUT NINPHET

                                                         บทคัดย่อ


                                                                  ุ
                                                    ื่
                        การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพอศึกษาปัญหาอปสรรค และผลกระทบจากการปฏิบัติหน้าที่
               สอบสวนคดีอาญาของพนักงานสอบสวน ด้านการคุ้มครองสิทธิ เสรีภาพของผู้ต้องหา ตามบทบัญญัติ
                                                                   ั
               รัฐธรรมนูญ พทธศักราช 2560 และค้นหาแนวทางในการพฒนาประสิทธิภาพการปฏิบัติหน้าที่สอบสวน
                            ุ
               คดีอาญาของพนักงานสอบสวน ด้านการคุ้มครอง สิทธิ เสรีภาพของผู้ต้องหา เพอให้สอดรับกับแนวทางตาม
                                                                                  ื่
               บทบัญญัติรัฐธรรมนูญดังกล่าว ใช้แบบแผนการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยเลือกผู้ให้ข้อมูล

               ส าคัญแบบเจาะจง (Purposive Sampling) ได้แก่  พนักงานสอบสวนจากสถานีต ารวจในเขตพนที่กองบังคับ
                                                                                              ื้
               การต ารวจนครบาล 9 จ านวน 10 แห่ง รวม 20 คน และ ผู้ทรงคุณวุฒิหรือผู้เชี่ยวชาญด้านกฎหมายหรือการ

               สอบสวนจ านวน 5 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth interview) วิเคราะห์ข้อมูลโดย
               ใช้การวิเคราะห์จ าแนกชนิดข้อมูล (Typological analysis)

                        ผลการวิจัย ปัญหาอปสรรคในการปฏิบัติหน้าที่สอบสวนพบว่า (1) พนักงานสอบสวนจะสามารถ
                                          ุ
               จับกุมผู้ต้องหาได้ ต้องยื่นขอศาลพจารณาออกหมายจับก่อน เป็นเหตุให้ผู้ต้องหาหลบหนีได้ (2) การสอบสวน
                                            ิ
                                                                     ื่
               ปากค าผู้ต้องหาที่ต้องด าเนินการต่อหน้าทนายความหรือบุคคลอน อาจท าให้คดีความถูกบิดเบือนได้ (3) การ
               ให้สิทธิผู้ต้องหาไม่ถูกควบคุมตัวเกินความจ าเป็น อาจมีผลต่อการตัดสินใจในการควบคุมตัวและอาจท าให้

               ผู้ต้องหาหลบหนี (4) การจ ากัดเวลาการควบคุมตัวท าให้มีเวลาจ ากัดในการแสวงหาพยานหลักฐาน (5) การ
               ปฏิเสธค าให้การต่อหน้าพนักงานสอบสวน แต่ไปให้การในชั้นศาลเป็นอปสรรคต่อการรวบรวมพยานหลักฐาน
                                                                          ุ
               ในชั้นต้น (6) การขอยื่นประกันตัวชั่วคราว ท าให้พยานบุคคล ไม่กล้าให้การเพราะเกรงความปลอดภัยของ

                                                                                   ั
               ตนเองและ (7) คดีความที่มีลักษณะเฉพาะที่ต้องให้ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านเข้ารับฟงการสอบสวน สร้างปัญหา
               การประสานความร่วมมือในการสอบสวน ทั้งนี้ ผลกระทบเกิดทั้งในเชิงบวกคือ  การพฒนาประสิทธิภาพการ
                                                                                       ั
               ปฏิบัติงานของพนักงานสอบสวน และในเชิงลบคือ การไม่บรรลุเป้าหมายด้านเวลา ความเครียดและขวัญ



                                                                                                     198
   195   196   197   198   199   200   201   202   203   204   205