Page 388 - thaipaat_Stou_2563
P. 388

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓



                           2) เพื่อเพิ่มพูนทักษะการท างาน (job skills) ของแต่ละบุคคล เช่น การใช้คอมพิวเตอร์ดูแลรักษา
               ความปลอดภัยในการท างาน
                                ื่
                           3) เพอเพมแรงจูงใจของแต่ละบุคคล หากบุคคลใดมีความรู้ความสามารถ แต่ขาดซึ่งแรงจูงใจ ก็
                                   ิ่
               จะไม่สามารถใช้ความรู้ความสามารถของตนเองได้อย่างเต็มที่ และผลงานที่ออกมาก็จะไม่มีประสิทธิภาพ
               เท่าที่ควร ดังนั้น การสร้างแรงจูงใจจึงเป็นสิ่งส าคัญอย่างยิ่งต่อความส าเร็จขององค์การ
                          ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อกำรพัฒนำบุคลำกร
                          เฉลิมพงศ์ มีสมนัย (2543, น. 12-13) ได้กล่าวไว้ ดังนี้
                          1. กำรสนับสนุนและควำมร่วมมืออย่ำงเต็มที่จำกผู้บริหำรองค์กำร โดยการสนับสนุนและความ
                                                                                                     ั
               ร่วมมือจากผู้บริหารองค์การ โดยการสนับสนุนด้านค่าใช้จ่ายและงบประมาณ ในการจัดกิจกรรมการพฒนา
               บุคลากร การอานวยความสะดวกในการจัดกิจกรรมที่เกี่ยวข้องเป็นการต่อเนื่อง รวมทั้งสนับสนุนให้มีการ

                         ั
               ประชาสัมพนธ์อย่างทั่วถึง ซึ่งจะท าให้บุคลากรมีความมั่นใจและเต็มใจให้ความร่วมมือสนับสนุนกิจกรรมการ
               พัฒนาบุคลากรต่อไป
                          2. ขนำดของพันธกิจและโครงสร้ำงองค์กำร การขยายงานมากขึ้น มีผลต่อการพฒนาบุคลากร
                                                                                              ั
               เนื่องจากองค์การที่มีขนาดใหญ่จะมีการเพมงาน ขยายจ านวนหน่วยงาน ฝ่าย แผนกงานต่างๆ บุคลากร ท าให้
                                                  ิ่
               ปริมาณงานใหม่ๆ เพมมากขั้น ดังนั้นองค์การจ าเป็นต้องใช้บุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถ มีศักยภาพ และ
                                 ิ่
               ประสบการณ์ทางด้านวิชาการเฉพาะด้าน ในการปฏิบัติงานบุคลากรภายในหน่วยงานต้องมีความสัมพันธ์และมี
               การสื่อสารกันภายในองค์การให้มากขึ้น ระหว่างบุคลากรทุกระดับ ตั้งแต่ผู้บริหารระดับสูงจนถึงผู้ปฏิบัติงาน

                                  ั
               ดังนั้น กิจกรรมการพฒนาบุคลากรจึงมีความจ าเป็นอย่างยิ่ง เนื่องจาก มีความต้องการให้บุคลากรระดับ
               ปฏิบัติงานมีความร่วมมือร่วมใจ และประสานงานกันเป็นอย่างดี โดยปฏิบัติงานให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
               ขององค์การ
                                                                                                     ั
                                               ่
                                                                                        ิ
                          3. เทคโนโลยีสมยใหม  เทคโนโลยีในยุคที่โลกมีการเปลี่ยนแปลง มีอทธิพลต่อการพฒนา
                                         ั
               บุคลากร ผู้บริหารต้องน าเทคโนยีสมัยใหม่มาปรับใช้เพอให้เกิดประโยชน์ต่อองค์การ หรือหน่วยงาน โดยการ
                                                             ื่
               จัดกิจกรรมการพัฒนาบุคลากรให้สัมพันธ์หรือสอดคล้องกับสภาวการณที่เปลี่ยนแปลงไป
                                                                         ์
                          4. ผู้เชี่ยวชำญด้ำนกำรพัฒนำบุคลำกร ผู้เชี่ยวชาญ ต้องมีความรู้ ความสามารถ ตลอดจนเข้าใจ
                               ั
               หลักการของการพฒนาบุคลากร โดยผู้เชี่ยวชาญต้องสามารถชี้แนะแนวทาง และเป็นที่ปรึกษาให้แก่ผู้บริหาร
                                                                                 ั
               ขององค์การได้ อีกทั้ง สามารถที่จะก าหนดขั้นตอนการด าเนินงานกิจกรรมการพฒนาบุคลากร โดยสามารถน า
                                                                                            ื่
                                                  ั
               หลักวิชาการมาปรับใช้กับกิจกรรมการพฒนาบุคลากรให้เหมาะสมกับองค์การมากขึ้น เพอการปฏิบัติเกิด
               ประสิทธิผล ซึ่งจะส่งผลให้บุคลากรมีการเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมในทางที่ดีขึ้น
                          5. กำรเสนอควำมคิดเห็นอย่ำงจริงใจ จำกหัวหน้ำหน่วยงำนทุกหน่วยงำนขององค์กำร สิ่งนี้มี
               ผลต่อการด าเนินการกิจกรรมการพัฒนาบุคลากร เพื่อตอบสนองความต้องการส าหรับกิจกรรมการพัฒนาบุคลากร
                          6. กำรให้บุคลำกรมีควำมรู้สึกว่ำบุคลำกรทุกคนมีส่วนร่วม สืบเนื่องจากบุคลากรทุกคนต้องการ

               ให้ผู้บริหารขององค์การ มีความเข้าใจ และดูแลเอาใจใส่พวกเขาอย่างทั่วถึง โดยการจัดกิจกรรมการพฒนา
                                                                                                     ั
                                                                                ื่
               บุคลากรขึ้นมา เช่น หลักสูตรการพฒนาผู้บริหารงานทุกระดับขององค์การ เพอให้ผู้บริหารทราบถึงวิธีปฏิบัติ
                                             ั
               ตนต่อผู้ใต้บังคับบัญชา และสามารถคิดและหาวิธีแก้ไขปัญหาและอปสรรคของการปฏิบัติงานได้อย่างมี
                                                                          ุ
               ประสิทธิภาพ
                          7. กำรฝึกอบรมบุคลำกร การฝึกอบรม (training) คือกระบวนการจัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ
                         ิ่
                  ื่
               เพอการเพมพนความรู้ ทักษะ ความสามารถ ศักยภาพ ของบุคลากร ช่วยปรับปรุงให้การปฏิบัติงานมี
                            ู
                                                                    ื่
               ประสิทธิภาพสูงขึ้น กล่าวคือ การฝึกอบรม เป็นกิจกรรมที่จัดขึ้นเพอช่วยให้บุคลากรมีศกยภาพการท างานสูงขึ้น
                                                                                    ั
                                                                        ุ่
                          แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับกำรกำรบริหำรแบบมงผลสัมฤทธิ์
                                                                                                     386
   383   384   385   386   387   388   389   390   391   392   393