Page 389 - thaipaat_Stou_2563
P. 389

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓



                          ทิพาวดี เมฆสวรรค์ (2543 : 3) กล่าวว่า การบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ เป็นการบริหาร โดยเน้น
               ที่ผลลัพธ์หรือความสัมฤทธิ์ผลเป็นส าคัญ จะใช้ระบบการประเมินผลงานที่อาศัยตัวบ่งชี้เป็นตัวสะท้อนผลงาน
               ให้ออกมาเป็นรูปธรรม เพื่อปรับปรุงกระบวนการปฏิบัติงานให้ดียิ่งขึ้น และแสดงผลงานต่อที่สาธารณะ
                          เฉลิมพงศ์ มีสมนัย (2547, น. 133) กล่าวว่า การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ คือการบริหารจัดการที่

                                                                ึ
               มุ่งเน้นที่ผลงาน ซึ่งได้แก่ ผลผลิต และผลลัพธ์ และความพงพอใจของหน่วยงานที่ท างานร่วมกัน มากกว่าเน้น
               ทรัพยากรที่ใช้ในการด าเนินงานหรือปัจจัยน าเข้า และกระบวนการท างาน ซึงเป็นวิธีการที่น ามาสู่ผลส าเร็จของงาน
                           จากการที่ผู้ศึกษาได้ทบทวนและน าไปเทียบเคียงที่เหมาะสมกับบริบทของกรมวิชาการเกษตร
                                                                                        ื่
                                                                                                     ั
               แล้ว จึงได้น าแนวคิดโดนัลด์ แอล เคิร์กแพทริค (Donald L. Kirkpatrick, 1975) เพอวัดระดับการพฒนา
                                                                           ั
               บุคลากรกรมวิชาการเกษตร โดยมีแนวคิดเกี่ยวกับผลสัมฤทธิ์ของการพฒนาบุคลากรกรมวิชาการเกษตร 4
               ประการ ประกอบด้วย
                          1)  ประเมินปฏิกิริยาตอบสนอง (Reaction Evaluation)

                          2) ประเมินการเรียนรู้ (Learning Evaluation)
                          3) ประเมินพฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงไปหลังการอบรม (Behavior Evaluation)
                          4) ประเมินผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นต่อองค์กร (Results Evaluation)
               กรอบแนวคิดกำรศึกษำ
                       ผู้ศึกษาได้ทบทวนและน าไปเทียบเคียงที่เหมาะสมกับบริบทของกรมวิชาการเกษตรแล้ว จึงได้น า
                                                                                 ิ
               แนวคิด ของ เฉลิมพงศ์  มีสมนัย (2543, น. 12-13) มาก าหนดเป็นตัวแปรอสระ ทั้งทางด้านปัจจัยภายใน
               องค์การและปัจจัยภายนอกองค์การ และแนวคิดของโดนัลด์ แอล เคิร์กแพทริค (Donald L.
               Kirkpatrick,1975) มาเป็นตัวแปรตาม ดังนี้

                          ตัวแปรอิสระ                                                               ตัวแปรตำม
                   ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับผลสัมฤทธิ์ของการพัฒนาบุคลากร   ผลสัมฤทธิ์ของกำรพัฒนำบุคลำกร

                 ปัจจัยภายใน                                         ด้านปฏิกริยาตอบสนอง  -    )Reaction(
                 การสนับสนุนและความร่วมมืออย่างเต็มที่จากผู้บริหาร  -      )  ด้านการเรียนรู้  -   Learning(
                 องค์การ                                              -   ด้านพฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงไปหลังการ
                 ขนาดของพันธกิจและโครงสร้างองค์การ  -                อบรม )Behavior(
                 การพัฒนาศักยภาพและความสามารถของบุคลากร    -            )  ด้านผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นต่อองค์กร  -   Results(
                 ผู้เชี่ยวชาญด้านการพัฒนาบุคลากร  -

                 ด้านการเสนอควา    -   มคิดเห็นอย่างจริงใจ จากหัวหน้า
                 หน่วยงานขององค์การ
                 - การให้บุคลากรมีความรู้สึกว่าบุคลากรทุกคนมีส่วนร่วม
                 ปัจจัยภายนอก
                 ด้านเทคโนโลยี  -
                 ด้านการฝึกอบรมบุคลากร  -

                                               ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดการศึกษา

               วิธีกำรศึกษำ
                                                                      ั
                       การศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพนธ์กับผลสัมฤทธิ์ของการพฒนาบุคลากรกรมวิชาการเกษตร มีวิธีการ
                                                ั
               ศึกษาดังนี้
                       1. ประชำกรและกลุ่มตัวอย่ำง
                                                                                                     387
   384   385   386   387   388   389   390   391   392   393   394