Page 390 - thaipaat_Stou_2563
P. 390
งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓
1.1 ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือบุคลากรของกรมวิชาการเกษตรส่วนกลาง ประกอบด้วย
ข้าราชการ และพนักงานราชการ ณ กรุงเทพมหานคร จ านวน 690 คน
1.2 กลุ่มตัวอย่างจ านวน 253 คน ใช้วิธีการก าหนดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรการค านวณของทาโร
ยามาเน่ (Taro Yamane)ก าหนดค่าความคลาดเคลื่อนเท่ากับ 0.05
1.3 การสุ่มตัวอย่าง ใช้วิธีการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม
2. เครื่องมือที่ใช้ในกำรศึกษำ
เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม ดังนี้
ส่วนที่ 1 เป็นแบบสอบถามที่เกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม ได้แก่ เพศ อายุ
ระดับการศึกษา ต าแหน่งในปัจจุบัน ระยะเวลาที่ปฏิบัติงานในกรมวิชาการเกษตร รายได้ในปัจจุบัน
ั
ั
ส่วนที่ 2 เป็นแบบสอบถามปัจจัยที่มีความสัมพนธ์กับผลสัมฤทธิ์ของการพฒนาบุคลากรกรม
วิชาการเกษตร มีลักษณะเป็นมาตรประมาณค่า (Rating Scale) แบ่งออกเป็น 5 ระดับ ได้แก่ ระดับ 1 มี
ความสัมพันธ์ น้อยที่สุด - ระดับ 5 มีความสัมพันธ์มากที่สุด และมีเกณฑ์ในการแปลความหมาย ดังนี้ 1.00 –
1.79น้อยที่สุด, 1.80 – 2.59น้อย, 2.60 – 3.39 ปานกลาง, 3.40 – 4.19 มาก และ 4.20 – 5.00
มากที่สุด
ส่วนที่ 3 เป็นแบบสอบถามเพื่อชี้วัดระดับผลสัมฤทธิ์ของการพัฒนาบุคลากร มีลักษณะเป็นมาตร
ประมาณค่า (Rating Scale) ของ Likert Scale แบ่งออกเป็น 5 ระดับ ได้แก่ ระดับ 1 มีระดับคุณภาพชีวิตใน
การท างานน้อยที่สุด - ระดับ 5 มีระดับคุณภาพชีวิตในการท างานมากที่สุด และมีเกณฑ์ในการแปลความหมาย
ดังนี้ 1.00 – 1.79น้อยที่สุด, 1.80 – 2.59 น้อย, 2.60 – 3.39 ปานกลาง, 3.40 – 4.19มาก และ
4.20 – 5.00 มากที่สุด
ส่วนที่ 4 แสดงความคิดเห็นและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับปัญหา และแนวทางที่ท าให้ผลสัมฤทธิ์ของ
ั
ิ่
การพฒนาบุคลากรกรมวิชาการเกษตรเพมขึ้น ตามประเด็นที่ก าหนดในกรอบแนวคิด ในส่วนนี้เป็นค าถาม
ปลายเปิด
3. กำรเก็บรวมรวมข้อมูล
ผู้ศึกษาได้ด าเนินการเก็บข้อมูลจากแบบสอบถาม โดยใช้การสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบบังเอญ ซึ่งผู้
ิ
ศึกษาด าเนินการแจกแบบสอบถามให้กลุ่มตัวอย่าง จ านวน 253 คน ที่ปฏิบัติงานอยู่ที่หน่วยงานส่วนกลาง
ของ กรมวิชาการเกษตร ณ กรุงเทพมหานคร ซึ่งได้รับแบบสอบถามกลับมาครบถ้วน จึงท าการ
ตรวจสอบความสมบูรณ์ของแบบสอบถาม บันทึกข้อมูล และด าเนินการวิเคราะห์ผลการศึกษา
4. กำรวิเครำะห์ข้อมูล
ผู้ศึกษารวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถามที่ได้รับกลับคืน แล้วด าเนินการวิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้
โปรแกรมส าเร็จรูปวิเคราะห์ข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่
4.1 สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ใช้ส าหรับ
อธิบายข้อมูลเกี่ยวกับ ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับผลสัมฤทธิ์ของการพฒนา
ั
บุคลากร และ ระดับผลสัมฤทธิ์ของการพัฒนาบุคลากร กรมวิชาการเกษตร
ั
ั
4.2 สถิติเชิงอนุมาน โดยใช้การวิเคราะห์สหสัมพนธ์เพยร์สันในการวิเคราะห์ความสัมพนธ์
ี
ั
ั
ระหว่างปัจจัยที่มีความสัมพนธ์กับผลสัมฤทธิ์ของการพฒนาบุคลากร และ ระดับผลสัมฤทธิ์ของการพฒนา
ั
บุคลากรกรมวิชาการเกษตร
ผลกำรศึกษำ
1. ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถำม
ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนมากเป็น เพศหญิง (ร้อยละ 59.70) อายุระหว่าง 36-45 ปี(ร้อยละ 53.80)
ระดับการศึกษาปริญญาตรี (ร้อยละ 92.10) ต าแหน่งพนักงานราชการ (ร้อยละ 64.80) ระยะเวลาที่
388