Page 397 - thaipaat_Stou_2563
P. 397

งานประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๖๓



               บทน ำ
                                                         ุ
                       รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พทธศักราช 2540 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
                 ุ
               พทธศักราช 2550 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 และพระราชบัญญัติระเบียบ
                                                                        ื้
               บริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 ได้ด ารงไว้ซึ่งแนวคิดพนฐานของการบริหารท้องถิ่นที่ส าคัญคือ
               แนวคิดเกี่ยวกับการกระจายอ านาจ และแนวคิดเกี่ยวกับอ านาจปกครองตนเองและความเป็นอิสระของท้องถิ่น
               เทศบาลถือเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบหนึ่งที่จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496

                           ิ่
                                                                                      ่
               และที่แก้ไขเพมเติม มีฐานะเป็นนิติบุคคล มีภารกิจหน้าที่ในการให้บริการสาธารณะแกประชาชนในท้องถิ่น ทั้ง
               ทางด้านโครงสร้างพนฐาน สาธารณูปโภค สาธารณูปการ การศึกษา จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น
                                 ื้
               ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การท่องเที่ยว กีฬา สาธารณสุข การจะขับเคลื่อนภารกิจงานของเทศบาล
               ให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ของการจัดบริการสาธารณะได้นั้น จะต้องอาศัย

               กลไกกระบวนการในการปฏิบัติราชการที่ขับเคลื่อนด้วยบุคลากรฝ่ายต่างๆ ภายในองค์การ  ซึ่งทรัพยากร
               มนุษย์ถือได้ว่าเป็นหนึ่งในปัจจัยส าคัญของกระบวนการบริหาร และจ าเป็นอย่างยิ่งที่ผู้บริหารต้องให้
                             ื่
               ความส าคัญ เพอให้การปฏิบัติราชการของบุคลากรเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล สามารถ
               ตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนในท้องถิ่นได้เป็นอย่างดี

                                                                                  ิ
                       ถึงแม้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย จะได้บัญญัติไว้ซึ่งความเป็นอสระในการบริหารงานบุคคล
               ของท้องถิ่นตามความต้องการและเหมาะสมของท้องถิ่น แต่ในสภาพความเป็นจริงในปัจจุบัน การบริหาร
               ทรัพยากรมนุษย์ในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นหลายแห่งมีปัญหาและอปสรรคหลายประการ ที่เกิดจากการ
                                                                           ุ
               ก ากับดูแลและไม่มีการกระจายอานาจจากรัฐบาลส่วนกลางอย่างแท้จริง รวมถึงปัญหาที่เกิดจากปัจจัยภายใน


               ของท้องถิ่นเอง เทศบาลต าบลหลวงเหนือ อาเภองาว จังหวัดล าปาง เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแห่งหนึ่ง
               แม้ว่าจะมีระบบการบริหารทรัพยากรมนุษย์เป็นไปตามระเบียบกฎหมาย แต่ในด้านการปฏิบัติยังถือได้ว่า
               ประสบกับปัญหาหลายประการ ผู้ศึกษาจึงมีความสนใจที่จะศึกษาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของเทศบาล
               ต าบลหลวงเหนือ ปัญหาและสาเหตุของการเกิดปัญหา รวมถึงข้อเสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหาและการ

               พัฒนาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของเทศบาลดังกล่าว
               วัตถุประสงค์กำรศึกษำ
                       ในการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ที่ส าคัญ 3 ประการ คือ (1) เพอศึกษาถึงการบริหารทรัพยากรมนุษย์ใน
                                                                        ื่
               เทศบาลต าบลหลวงเหนือ อาเภองาว จังหวัดล าปาง (2) เพอศึกษาปัญหาและสาเหตุของปัญหาการบริหาร
                                                                  ื่

               ทรัพยากรมนุษย์ในเทศบาลต าบลหลวงเหนือ อาเภองาว จังหวัดล าปาง และ (3) เพอค้นหาแนวทางการแก้ไข
                                                                                    ื่

                                             ั

               ปัญหา และเสนอแนะแนวทางการพฒนาการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในเทศบาลต าบลหลวงเหนือ อาเภองาว
               จังหวัดล าปาง
               วิธีกำรศึกษำ
                       การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ประชากร คือ ผู้บริหาร และพนักงานสังกัดเทศบาลต าบลหลวง
               เหนือ อ าเภองาว จังหวัดล าปาง จ านวนทั้งหมด 47 คน โดยศึกษาจากประชากรทั้งหมด เครื่องมือการวิจัย คือ
               แบบส ารวจเอกสารและแบบสัมภาษณ์ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการส ารวจเอกสารและการสัมภาษณเชิงลึก การ
                                                                                                ์
               วิเคราะห์ข้อมูลใช้วิธีการจ าแนกและจัดระบบข้อมูล การวิเคราะห์สาเหตุและผล การวิเคราะห์เนื้อหา และการ
               วิเคราะห์สรุปอุปนัย





                                                                                                     395
   392   393   394   395   396   397   398   399   400   401   402