Page 34 - PAAT_Journal_V2-2019
P. 34
PAAT Journal Vol. 2, No. 2, December 2019
1. การให้ความสําคัญกับการขยายตวทางเศรษฐกิจเปนอนดบแรกของชนชนนําและ
ั
ั
็
้
ั
ั
ุ
่
่
ุ
ี
่
การทมเททรัพยากรของประเทศไปในการทําใหบรรลุเปาหมายดงกล่าว เชน ประเทศญปน เกาหลีใต และ
่
ั
้
้
้
ไตหวน
ั
้
2. ตวแสดงทมบทบาทหลักในการขับเคลือนเป้าหมายของประเทศ คือ ระบบราชการท ี ่
ี
่
่
ั
ี
้
์
ี
ั
ุ
่
่
้
ี
คัดสรรบุคคลทมความสามารถและไดรับการปกปอง (insulated) จากแรงกดดนของกลมผลประโยชน เช่น
ุ
่
่
่
กระทรวงการค้าระหวางประเทศและอตสาหกรรมของประเทศญีปน (Ministry of International Trade and
ุ
Industry: MITI)
่
่
ิ
ิ
ื
ั
ี
3. การมชองทางเชงสถาบนสําหรับความร่วมมอระหวางภาครัฐและภาคธุรกจ
่
่
ี
(Institutionalization of Government-business cooperation) โดยอาจเปนชองทางทเป็นทางการ เชน
่
็
่
้
ื
็
่
การประชมคณะกรรมการส่งเสรมการส่งออกรายเดือนของเกาหลีใตทเปนชองทางประสานความร่วมมอ
ี
ิ
ุ
ื
ุ
่
ระหว่างฝ่ายการเมอง ข้าราชการ และนักธรกิจในการแลกเปลียนข้อมูลข่าวสารและประสานความร่วมมือใน
ั
การแกปญหา
้
ี
ุ
ื
ี
ิ
ิ
่
ี
อยางไรก็ด หลังจากเหตการณ์วกฤตทางเศรษฐกจในเอเชย ป ค.ศ. 1997 แนวคิดรัฐทขับเคลอน
ี
่
่
ิ
ี
ุ
ี
้
ี
ั
ุ
การพฒนา ไดรับการโจมตอย่างหนก และชให้เห็นถึงจดจบของทนนิยมแบบเอเชย หรือการแปลงสภาพของรัฐ
ั
้
ู
่
่
่
ี
่
ี
ั
่
ื
่
ทขับเคลือนการพฒนาไปสรัฐรูปแบบอนๆ เชน รัฐทกํากับดูแลกฎเกณฑ์ (Regulatory state) หรือ รัฐที ่
้
ั
ขับเคลือนการพฒนาใหม (Neo-developmental state) ซงขับเคลือนอตสาหกรรมเทคโนโลยีชนสูง เชน ใน
ั
่
่
ุ
่
่
่
ึ
้
ั
ี
้
ไตหวน โดยรัฐจะมบทบาทสําคัญในสามด้าน ไดแก ่
่
้
ี
ิ
1. ดานการแขงขัน โดยรัฐจะมบทบาทในการส่งเสรมอานาจในตลาดใหกับ
ํ
้
ิ
ั
่
่
บริษทเอกชนไมวาจะผ่านการควบรวมกิจการกับตางชาตหรือการส่งเสรมการลงทุนในต่างประเทศ
ิ
่
2. การวิจัยและพัฒนาการพัฒนาและศึกษาการพัฒนาอุตสาหกรรม โดยรัฐจะส่งเสริม
ทงทางตรงและทางออมใหเอกชนทําการวจยและพฒนาใหเกดอตสาหกรรมก้าวหนา
ุ
้
ั
ิ
้
ิ
้
้
ั
ั
้
้
้
3. การจางงานโดยรัฐจะออกนโยบายเพอสร้างเสถียรภาพใหกับการจางงานใน
้
่
ื
ี
อตสาหกรรมทีเปนยทธศาสตร หรือ งานทีแสดงใหเห็นถึงบทบาทของ “รัฐทขับเคลือนเครือข่ายการพฒนา”
ั
ุ
่
์
้
่
ุ
่
็
่
(Developmental network state) เชน ความสําเร็จของการพัฒนาเศรษฐกิจของไอร์แลนด์ ซึงรัฐบาล
่
่
์
้
ั
้
ี
้
ื
่
ั
ั
่
ไอร์แลนดไดเข้าไปมบทบาทในการสร้างเครือข่ายความเชอมโยงทังในระดบทองถิน ระดบประเทศ และระดบ
ระหวางประเทศ มากกวาการเข้าไปแทรกแซงโดยตรง
่
่
ี
่
ั
้
้
ในยคเศรษฐกจฐานความรูซงเกยวข้องกับอตสาหกรรมทใชเทคโนโลยชนสูง บทบาทของรฐ
ุ
่
ี
ิ
ึ
้
ั
ี
ุ
่
ั
ุ
่
่
ในการสงเสริมสนบสนนภาคส่วนต่างๆจะยิงทวีความสําคัญมากยิงชึน โดยลินดา ไวส์ (Linda Weiss, 2010
้
่
ี
่
ั
ี
้
ี
ู
ี
ํ
่
่
ั
อางในไชยวฒน์ ค้าช, 2559:15) เรียกรัฐทมลักษณะนวา “รัฐทตนตวทางเทคโนโลย” (Activist technology
ื
ี
่
้
็
่
้
ิ
state) โดยไวส์ชใหเหนวาแมกฎระเบยบระหวางประเทศจะสร้างขอจากัดในการแทรกแซงของรัฐเชงนโยบาย
้
้
ี
ี
่
ํ
้
ุ
่
่
ในอตสาหกรรมแบบเดิม แตก็ยังมีช่องว่างทีเปิดโอกาสให้รัฐบาลเข้ามาแทรกแซงในอุตสาหกรรมเทคโนโลยี
่
่
ึ
่
้
่
้
ชนสูงได ซงจะเป็นแนวโนมของตวแบบรัฐทขับเคลอนการพัฒนาในศตวรรษที 21 ตอไปวาควรเป็นรัฐทีมงเน้น
่
ั
ุ
่
ี
่
้
ั
่
ื
้
ื
การสร้างเสริมศักยภาพ (Capacity enhancing state) โดยเนนการเสริมสร้างศักยภาพของภาคพลเมองให ้
ั
่
ั
ื
มากยงขึนกวาการเน้นทตวเครองจกร
ี
้
่
ิ
่
่
่
26 สมาคมรัฐประศาสนศาสตร์แหงประเทศไทย